WORLD7

smed PIONEER 720x100ใจฟู720x100pxgpf 720x100 66

ธรรมศาสตร9-7

'8 ทศวรรษ อภิวัฒน์สังคมไทย' และกิจกรรม 'ธรรมศาสตร์ประกาศนาม'สู่ 10 ทศวรรษ ธรรมศาสตร์

​      ในโอกาสครบรอบ 80 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 27 มิถุนายน 2557มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ผนึกกำลังความร่วมมือของคน'ธรรมศาสตร์' สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้บริหาร คณะวิชา สำนักสถาบัน ศิษย์ปัจจุบัน เครือข่ายศิษย์เก่า ร่วมจัดกิจกรรมพิเศษหลากหลายรูปแบบภายใต้แนวคิดหลัก'8 ทศวรรษ อภิวัฒน์สังคมไทย' และกิจกรรม 'ธรรมศาสตร์ประกาศนาม'

      “การปลูกฝังสำนึกในการเรียนรู้ ดูแล และแก้ไขปัญหาให้ชุมชน คือกลไกที่จะสร้างพื้นฐานความดีงาม ให้ติดตัวคนธรรมศาสตร์ทุกๆคน”

      ในเรื่องของการพัฒนาในเรื่องของความเป็นนานาชาติ เรามีนักเรียนต่างชาติ อาจารย์ต่างชาติ งานวิจัยร่วมกับ ต่างชาติ กิจกรรมระดับนานาชาติมากมาย ทำให้ธรรมศาสตร์กลายเป็นเวทีแห่งความหลากหลาย ที่เอื้อให้คนเกิดความคิด ใหม่ๆ ช่วยสร้างนวัตกรรมต่างๆได้อย่างหลากหลายและรวดเร็ว นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ การติดต่อค้าขายข้าม ภูมิภาค ตลอดจนช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันไปในอนาคต

     “อีกสิ่งสำคัญก็คือการปฏิรูปการเรียนรู้ให้เน้นการปฏิบัติมากขึ้น เรียนรู้แบบบูรณาการมากขึ้น ให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงในสาขาวิชาชีพต่างๆของเขา ผ่านการบ่มเพาะในหลายๆ เรื่อง ทั้งเรื่องการฝึกงาน ในประเทศ ต่างประเทศ หรือการสร้างจิตวิญญาณในเรื่องของการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งเราพบว่าหาก นักศึกษามี Enterpernuer spirit หรือจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ ก็จะช่วยผลักดันเขาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ อยากจะสร้างนวัตกรรมเหมือนกับผู้ประกอบการทั้งหลายที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งคุณสมบัตินี้เมื่อรวมกับความเป็น นานาชาติ ที่เราปลูกฝังจะทำให้บัณฑิตของเราสามารถออกไปทำงานที่ไหนก็ได้ในโลก ไม่ว่าจะทำธุรกิจของตัวเอง หรือไปทำงานในองค์กรใดๆก็ตาม เพราะนี่คือลักษณะที่นายจ้างสมัยใหม่ต้องการ”

     เป้าหมายในการพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก หรือ World Class University และเพื่อให้ไปถึงจุดนั้น มธ จึงเร่งขับเคลื่อนใน 5 เรื่อง คือความเป็นเลิศด้านวิจัย ความเป็นนานาชาติ การสร้างนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนและสังคม และที่สำคัญ คือ ผลักดันให้ทั้งนักศึกษาและบุคลากรธรรมศาสตร์ ได้สัมผัสชุมชน เรียนรู้วิถีชีวิต เรียนรู้ปัญหา และเข้าไปร่วมกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม

    “การปลูกฝังสำนึกในการเรียนรู้ ดูแล และแก้ไขปัญหาให้ชุมชน คือกลไกที่จะสร้างพื้นฐานความดีงาม ให้ติดตัวคนธรรมศาสตร์ทุกๆคน”

    ในเรื่องของการพัฒนาในเรื่องของความเป็นนานาชาติ เรามีนักเรียนต่างชาติ อาจารย์ต่างชาติ งานวิจัยร่วมกับ ต่างชาติ กิจกรรมระดับนานาชาติมากมาย ทำให้ธรรมศาสตร์กลายเป็นเวทีแห่งความหลากหลาย ที่เอื้อให้คนเกิดความคิด ใหม่ๆ ช่วยสร้างนวัตกรรมต่างๆได้อย่างหลากหลายและรวดเร็ว นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ การติดต่อค้าขายข้าม ภูมิภาค ตลอดจนช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันไปในอนาคต

      “อีกสิ่งสำคัญ ก็คือการปฏิรูปการเรียนรู้ให้เน้นการปฏิบัติมากขึ้น เรียนรู้แบบบูรณาการมากขึ้น ให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงในสาขาวิชาชีพต่างๆของเขา ผ่านการบ่มเพาะในหลายๆ เรื่อง ทั้งเรื่องการฝึกงาน ในประเทศ ต่างประเทศ หรือการสร้างจิตวิญญาณในเรื่องของการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งเราพบว่าหาก นักศึกษามี Enterpernuer spirit หรือจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ ก็จะช่วยผลักดันเขาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ อยากจะสร้างนวัตกรรมเหมือนกับผู้ประกอบการทั้งหลายที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งคุณสมบัตินี้เมื่อรวมกับความเป็น นานาชาติ ที่เราปลูกฝังจะทำให้บัณฑิตของเราสามารถออกไปทำงานที่ไหนก็ได้ในโลก ไม่ว่าจะทำธุรกิจของตัวเอง หรือไปทำงานในองค์กรใดๆก็ตาม เพราะนี่คือลักษณะที่นายจ้างสมัยใหม่ต้องการ”

     เป้าหมายในการพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก หรือ World Class University และเพื่อให้ไปถึงจุดนั้น มธ จึงเร่งขับเคลื่อนใน 5 เรื่อง คือความเป็นเลิศด้านวิจัย ความเป็นนานาชาติ การสร้างนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนและสังคม และที่สำคัญ คือ ผลักดันให้ทั้งนักศึกษาและบุคลากรธรรมศาสตร์ ได้สัมผัสชุมชน เรียนรู้วิถีชีวิต เรียนรู้ปัญหา และเข้าไปร่วมกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม

     “การปลูกฝังสำนึกในการเรียนรู้ ดูแล และแก้ไขปัญหาให้ชุมชน คือกลไกที่จะสร้างพื้นฐานความดีงาม ให้ติดตัวคนธรรมศาสตร์ทุกๆคน”

     ในเรื่องของการพัฒนาในเรื่องของความเป็นนานาชาติ เรามีนักเรียนต่างชาติ อาจารย์ต่างชาติ งานวิจัยร่วมกับ ต่างชาติ กิจกรรมระดับนานาชาติมากมาย ทำให้ธรรมศาสตร์กลายเป็นเวทีแห่งความหลากหลาย ที่เอื้อให้คนเกิดความคิด ใหม่ๆ ช่วยสร้างนวัตกรรมต่างๆได้อย่างหลากหลายและรวดเร็ว นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ การติดต่อค้าขายข้าม ภูมิภาค ตลอดจนช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันไปในอนาคต

     “อีกสิ่งสำคัญ ก็คือการปฏิรูปการเรียนรู้ให้เน้นการปฏิบัติมากขึ้น เรียนรู้แบบบูรณาการมากขึ้น ให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงในสาขาวิชาชีพต่างๆของเขา ผ่านการบ่มเพาะในหลายๆ เรื่อง ทั้งเรื่องการฝึกงาน ในประเทศ ต่างประเทศ หรือการสร้างจิตวิญญาณในเรื่องของการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งเราพบว่าหาก นักศึกษามี Enterpernuer spirit หรือจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ ก็จะช่วยผลักดันเขาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ อยากจะสร้างนวัตกรรมเหมือนกับผู้ประกอบการทั้งหลายที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งคุณสมบัตินี้เมื่อรวมกับความเป็น นานาชาติ ที่เราปลูกฝังจะทำให้บัณฑิตของเราสามารถออกไปทำงานที่ไหนก็ได้ในโลก ไม่ว่าจะทำธุรกิจของตัวเอง หรือไปทำงานในองค์กรใดๆก็ตาม เพราะนี่คือลักษณะที่นายจ้างสมัยใหม่ต้องการ”

    เป้าหมายในการพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก หรือ World Class University และเพื่อให้ไปถึงจุดนั้น มธ จึงเร่งขับเคลื่อนใน 5 เรื่อง คือความเป็นเลิศด้านวิจัย ความเป็นนานาชาติ การสร้างนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนและสังคม และที่สำคัญ คือ ผลักดันให้ทั้งนักศึกษาและบุคลากรธรรมศาสตร์ ได้สัมผัสชุมชน เรียนรู้วิถีชีวิต เรียนรู้ปัญหา และเข้าไปร่วมกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม

    “การปลูกฝังสำนึกในการเรียนรู้ ดูแล และแก้ไขปัญหาให้ชุมชน คือกลไกที่จะสร้างพื้นฐานความดีงาม ให้ติดตัวคนธรรมศาสตร์ทุกๆคน”

    ในเรื่องของการพัฒนาในเรื่องของความเป็นนานาชาติ เรามีนักเรียนต่างชาติ อาจารย์ต่างชาติ งานวิจัยร่วมกับ ต่างชาติ กิจกรรมระดับนานาชาติมากมาย ทำให้ธรรมศาสตร์กลายเป็นเวทีแห่งความหลากหลาย ที่เอื้อให้คนเกิดความคิด ใหม่ๆ ช่วยสร้างนวัตกรรมต่างๆได้อย่างหลากหลายและรวดเร็ว นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ การติดต่อค้าขายข้าม ภูมิภาค ตลอดจนช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันไปในอนาคต

    “อีกสิ่งสำคัญก็คือการปฏิรูปการเรียนรู้ให้เน้นการปฏิบัติมากขึ้น เรียนรู้แบบบูรณาการมากขึ้น ให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงในสาขาวิชาชีพต่างๆของเขา ผ่านการบ่มเพาะในหลายๆ เรื่อง ทั้งเรื่องการฝึกงาน ในประเทศ ต่างประเทศ หรือการสร้างจิตวิญญาณในเรื่องของการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งเราพบว่าหาก นักศึกษามี Enterpernuer spirit หรือจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ ก็จะช่วยผลักดันเขาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ อยากจะสร้างนวัตกรรมเหมือนกับผู้ประกอบการทั้งหลายที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งคุณสมบัตินี้เมื่อรวมกับความเป็น นานาชาติ ที่เราปลูกฝังจะทำให้บัณฑิตของเราสามารถออกไปทำงานที่ไหนก็ได้ในโลก ไม่ว่าจะทำธุรกิจของตัวเอง หรือไปทำงานในองค์กรใดๆก็ตาม เพราะนี่คือลักษณะที่นายจ้างสมัยใหม่ต้องการ”

    เพื่อเฉลิมฉลองในวาระสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในครั้งนี้อย่างยิ่งใหญ่ และตอกย้ำจิตวิญญาณธรรมศาสตร์เพื่อประชาชน สะท้อนบทบาทของมหาวิทยาลัยที่ยืนเคียงข้างประชาชนพร้อมสร้างองค์ความรู้เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาของสังคมไทยมาตลอด 8 ทศวรรษ

'ธรรมศาสตร์ประกาศนาม'

   กิจกรรมธรรมศาสตร์ประกาศนาม เริ่มต้นโดย ขบวนดรัมเมเยอร์เดินนำวงดุริยางค์ธรรมศาสตร์คลองหลวง บรรเลงเพลงเดิน ม.ธ.ก. นำคณะผู้บริหาร ศิษย์เก่าอาวุโส และศิษย์ปัจจุบันเชิญธงธรรมจักร เข้าสู่บริเวณงาน โดยมี อาจารย์ดร. อริสรา กำธรเจริญ อาจารย์ประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน และนายสุทิวัส หงส์พูนพิพัฒน์ ศิษย์เก่า เป็นพิธีกร ร่วมสัมภาษณ์ นายมารุต บุนนาค อดีตประธานนักศึกษา เกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์วันที่ 5 พย. พศ.2494 และ ศาสตราจารย์ คุณหญิงนงเยาว์ ชัยเสรี อดีตอธิการบดี

   พิธีเปิดประติมากรรม'วันธรรมศาสตร์สามัคคี 5 พฤศจิกายน'ซึ่งสร้างจากความร่วมมือร่วมใจของ'ชมรมเพื่อนโดม'ในการระดมทุนเพื่อจัดสร้างประติมากรรมดังกล่าว เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในสมัยนั้นได้สามัคคีกันในการเรียกร้องทวงคืนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ถูกทหารยึดในปี 2494

   พิธีประกาศนามของชาวธรรมศาสตร์ในการสืบทอดจิตวิญญาณธรรมศาสตร์จากรุ่นอดีต สู่รุ่นปัจจุบัน และรุ่นอนาคต โดยการส่งมอบธงเหลืองแดงจากนายมารุต บุนนาค แก่ ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดี ซึ่งได้ส่งมอบต่อแก่ นายศักรินทร์ ไกรสิทธิ์ นายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อมธ.)

พิธีทางศาสนา

   พิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ พิธีเจริญพระพุทธมนต์โดยพระเถระผู้ใหญ่ และพิธีอำนวยพรโดยผู้นำศาสนา

'สู่ 10 ทศวรรษ ธรรมศาสตร์'

   การเสวนาหัวข้อ “สู่ 10 ทศวรรษ ธรรมศาสตร์” โดยอดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ ศ.นรนิติ เศรษฐบุตร  รศ.ดร.นริศ ชัยสูตร และ ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์​

'เหลียวหลังแลหน้าการอภิวัฒน์สังคมไทย'

   ปาฐกถา “เหลียวหลังแลหน้าการอภิวัฒน์สังคมไทย’โดย ศ.ดร.ธีรยุทธ บุญมี อาจารย์ประจำวิทยาลัย สหวิทยาการ และการเสวนา “เหลียวหลังแลหน้าการอภิวัฒน์กระบวนการยุติธรรม”  โดย ศ.ดร.คณิต ณ นคร ประธานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย และนายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ พร้อมด้วยการเปิดตัว ‘สถาบันต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ง และเสวนา หัวข้อ ‘กำจัดคอร์รัปชั่นให้สิ้น : ทำอย่างไรให้ตรงจุด’ โดยนายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานองค์การต่อต้านคอร์รัปชั่น และนายกล้านรงค์ จันทิก อดีตกรรมการ ป.ป.ช.

การแสดง

    การแสดงที่เป็นอัตลักษณ์ของธรรมศาสตร์ ได้แก่  งิ้วธรรมศาสตร์ ตอน “ยุทธภพสารขัณฑ์ : 80 ปี วงล้อธรรมย้ำที่เดิม” โขนธรรมศาสตร์ ชุด “นารายณ์ปราบนนทุก หนุมานถวายพล ยกรบ”  ละคอนเวที เรื่อง “คา – ไล – โด – สะ – โคป” และคอนเสิร์ต “ธรรมศาสตร์ 80 ปี เพื่อเสรีชาวประชา : จากผืนดินสู่ยอดโดม”  ที่เล่าเรื่องราวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตลอดระยะเวลา 80 ปี ตั้งแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน ภายใต้แนวคิด“ถ้าหากฉันเกิดเป็นเม็ดทราย จะถมกายเป็นทางเพื่อมวลชน” โดยศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน มธ.

apm

 

 

Facebook

5 ข่าวฮอตนิวส์!