- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Tuesday, 17 July 2018 18:33
- Hits: 1249
บล.เอเซียพลัส : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
กลยุทธ์การลงทุน
IMF ยังคง GDP Growth โลกไว้เท่าเดิม แต่ปรับลด volume trade ลง สะท้อนผลของสงครามการค้า ส่วนสหรัฐยังมีแรงกดดันเงินเฟ้อ การขึ้นดอกเบี้ยยังเร็วและแรงต่อเนื่อง น่าจะทำให้ตลาดหุ้นสหรัฐผ่านจุดสูงสุดปี 2561 ไปแล้ว ส่วน Earnings Preview/Results หุ้นไทยให้น้ำหนักรายตัว กลยุทธ์ฯ เน้นหุ้นปัจจัยสี่ (BJC, BH) สาธารณูปโภค (RATCH, TTW, EASTW, DTAC) ปลอดภัยดอกเบี้ยขาขึ้น (BBL, KBANK, PLANB) และได้ประโยชน์เงินบาทอ่อนค่า (CPF, TU, GFPT) Top picks: GFPT(FV@14) และ CPF(FV@B30) ราคาหมูขยับเหนือต้นทุน กำไรเพิ่มต่อเนื่องใน 2H61
ย้อนรอยตลาดหุ้นไทยวานนี้…. มูลค่าซื้อขายไม่เป็นใจ SET index ย่อตัวต่อ
SET index วานนี้ ยังถูกกดดันปรับตัวลงต่อ ระหว่างวันลบมากถึง 20 จุด ก่อนจะรีบาวด์เล็กน้อย ปิดตลาดที่ 1,627.69 จุด ลดลง -15.83 จุด หรือ -0.96% มูลค่าซื้อขายเพียง 3.66 หมื่นล้านบาท นำโดยกลุ่มการเงิน KTC ปิด floor ที่ 23.10 บาท ส่วน AEONTS (-7.52%) ได้ sentiment ลบเช่นกัน ตามด้วยกลุ่มขนส่ง AOT กลุ่มธ.พ. TISCO SCB KBANK ขณะที่กลุ่มส่งออก-ชิ้นส่วนฯ ยังได้อานิสงค์บาทอ่อนค่า สงครามการค้าที่ผ่อนคลายช่วงสั้น และต้นทุนทองแดงที่ลดลง KCE, HANA, DELTA และหุ้นรายตัวในกลุ่มพลังงาน ปิดบวกพยุงดัชนีเล็กน้อย IRPC (1.69%), TOP (1.63%), EA (1.54%)
แนวโน้มตลาดฯ วันนี้คาดยังเผชิญกับแนวต้าน 1630 จุด โดยยังให้น้ำหนักต่อการรายงานงบ 2Q61 ของกลุ่ม ธ.พ. ซึ่งน่าจะทำให้ SET Index ยังคงแกว่งผันผวนต่อไป
กลยุทธ์การลงทุน
IMF ยังคง GDP Growth โลกไว้เท่าเดิม แต่ปรับลด volume trade ลง สะท้อนผลของสงครามการค้า ส่วนสหรัฐยังมีแรงกดดันเงินเฟ้อ การขึ้นดอกเบี้ยยังเร็วและแรงต่อเนื่อง น่าจะทำให้ตลาดหุ้นสหรัฐผ่านจุดสูงสุดปี 2561 ไปแล้ว ส่วน Earnings Preview/Results หุ้นไทยให้น้ำหนักรายตัว กลยุทธ์ฯ เน้นหุ้นปัจจัยสี่ (BJC, BH) สาธารณูปโภค (RATCH, TTW, EASTW, DTAC) ปลอดภัยดอกเบี้ยขาขึ้น (BBL, KBANK, PLANB) และได้ประโยชน์เงินบาทอ่อนค่า (CPF, TU, GFPT) Top picks: GFPT(FV@14) และ CPF(FV@B30) ราคาหมูขยับเหนือต้นทุน กำไรเพิ่มต่อเนื่องใน 2H61
ย้อนรอยตลาดหุ้นไทยวานนี้…. มูลค่าซื้อขายไม่เป็นใจ SET index ย่อตัวต่อ
SET index วานนี้ ยังถูกกดดันปรับตัวลงต่อ ระหว่างวันลบมากถึง 20 จุด ก่อนจะรีบาวด์เล็กน้อย ปิดตลาดที่ 1,627.69 จุด ลดลง -15.83 จุด หรือ -0.96% มูลค่าซื้อขายเพียง 3.66 หมื่นล้านบาท นำโดยกลุ่มการเงิน KTC ปิด floor ที่ 23.10 บาท ส่วน AEONTS (-7.52%) ได้ sentiment ลบเช่นกัน ตามด้วยกลุ่มขนส่ง AOT กลุ่มธ.พ. TISCO SCB KBANK ขณะที่กลุ่มส่งออก-ชิ้นส่วนฯ ยังได้อานิสงค์บาทอ่อนค่า สงครามการค้าที่ผ่อนคลายช่วงสั้น และต้นทุนทองแดงที่ลดลง KCE, HANA, DELTA และหุ้นรายตัวในกลุ่มพลังงาน ปิดบวกพยุงดัชนีเล็กน้อย IRPC (1.69%), TOP (1.63%), EA (1.54%)
แนวโน้มตลาดฯ วันนี้คาดยังเผชิญกับแนวต้าน 1630 จุด โดยยังให้น้ำหนักต่อการรายงานงบ 2Q61 ของกลุ่ม ธ.พ. ซึ่งน่าจะทำให้ SET Index ยังคงแกว่งผันผวนต่อไป
เศรษฐกิจโลกยังทรงตัวในปี 2562 แต่ปริมาณการค้าโลกลดลงจากสงครามการค้า
IMF ออกรายงานคาดการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มการค้าโลก โดยยังกังวลต่อสงครามการค้าโลก สะท้อนจากการปรับลดปริมาณการค้าโลก (World trade volume) ในปี 2561-2562 ลง 0.3% อยู่ที่ 4.8% และปรับลด 0.2% เป็น 4.5% ตามลำดับ ถึงแม้จะยังคง GDP Growth โลกในปี 2561-2562 ที่ 3.9%yoy ทั้งสองปี แต่มีการปรับเพิ่ม/ลดในบางประเทศ คือ ฝั่งประเทศพัฒนาแล้ว ยุโรป ปี 2561 ปรับลด 0.2% ที่ 2.2% และปี 2562 ปรับลด 0.1% ที่ 1.9%, อังกฤษปรับลด 0.2% ในปี 2561 เป็น 1.5% แต่ยังคงปี 2562 ที่ 1.5% , ญี่ปุ่นปรับลด 0.2% ในปี 2561 เป็น 1.0% แต่ยังคงปี 2562 ที่ 1.5%, ขณะที่สหรัฐยังคงเดิมที่ 2.9% และ 2.7% ในปี 2561-2562 ตามลำดับ
ฝั่งประเทศกำลังพัฒนา ปรับลดอินเดีย 0.1% ในปี 2561 เป็น 7.4% และปรับลด 0.3% ที่ 7.5% ในปี 2562, กลุ่มประเทศอาเซียนยังคงปี 2561 ที่ 5.3% แต่ปรับลดปี 2562 0.1% เป็น 5.3% , ขณะที่จีนยังคาดการณ์คงปี 2561-2562 ไว้ที่ 6.6% และ 6.4% ทั้งนี้ GDP Growth จีน งวด 2Q61 ประกาศเมื่อวานนี้ขยายตัวตามคาด 6.7%yoy ทำให้ 1H61 ขยายตัว 6.75%ยังสอดคล้องคาดการณ์ของ IMF โดยรวมหากสงครามการค้ายังคงบานปลายและรุนแรงมากขึ้น เชื่อว่าจะกระทบต่อเศรษฐกิจและการค้าโลก ซึ่งอาจจะทำให้การเติบโตอาจจะต่ำกว่าที่คาดได้
IMF ออกรายงานคาดการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มการค้าโลก โดยยังกังวลต่อสงครามการค้าโลก สะท้อนจากการปรับลดปริมาณการค้าโลก (World trade volume) ในปี 2561-2562 ลง 0.3% อยู่ที่ 4.8% และปรับลด 0.2% เป็น 4.5% ตามลำดับ ถึงแม้จะยังคง GDP Growth โลกในปี 2561-2562 ที่ 3.9%yoy ทั้งสองปี แต่มีการปรับเพิ่ม/ลดในบางประเทศ คือ ฝั่งประเทศพัฒนาแล้ว ยุโรป ปี 2561 ปรับลด 0.2% ที่ 2.2% และปี 2562 ปรับลด 0.1% ที่ 1.9%, อังกฤษปรับลด 0.2% ในปี 2561 เป็น 1.5% แต่ยังคงปี 2562 ที่ 1.5% , ญี่ปุ่นปรับลด 0.2% ในปี 2561 เป็น 1.0% แต่ยังคงปี 2562 ที่ 1.5%, ขณะที่สหรัฐยังคงเดิมที่ 2.9% และ 2.7% ในปี 2561-2562 ตามลำดับ
ฝั่งประเทศกำลังพัฒนา ปรับลดอินเดีย 0.1% ในปี 2561 เป็น 7.4% และปรับลด 0.3% ที่ 7.5% ในปี 2562, กลุ่มประเทศอาเซียนยังคงปี 2561 ที่ 5.3% แต่ปรับลดปี 2562 0.1% เป็น 5.3% , ขณะที่จีนยังคาดการณ์คงปี 2561-2562 ไว้ที่ 6.6% และ 6.4% ทั้งนี้ GDP Growth จีน งวด 2Q61 ประกาศเมื่อวานนี้ขยายตัวตามคาด 6.7%yoy ทำให้ 1H61 ขยายตัว 6.75%ยังสอดคล้องคาดการณ์ของ IMF โดยรวมหากสงครามการค้ายังคงบานปลายและรุนแรงมากขึ้น เชื่อว่าจะกระทบต่อเศรษฐกิจและการค้าโลก ซึ่งอาจจะทำให้การเติบโตอาจจะต่ำกว่าที่คาดได้
ราคาน้ำมันร่วงแรง หลังสหรัฐผ่อนปรนห้ามซื้อน้ำมันจากอิหร่าน
ราคาน้ำมันดิบโลกที่ย่อตัวแรง จากปัญหา Oversupply น้ำมันในตลาดโลก หลังจากประเทศในกลุ่ม OPEC อาทิ ซาอุดิอาระเบียทยอยเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมัน ราว 5 แสนบาร์เรล/วัน ล่าสุด เดือน มิ.ย. อยู่ที่ 10.5 ล้านบาร์เรล/วัน (31.4%ของกำลังการผลิตกลุ่ม OPEC) เพื่อชดเชยกำลังการผลิตที่หายไปของอิหร่าน (ผลิตวันละ 3.81 ล้านบาร์เรลราว 11.9%) และเวเนซุเอล่า (ราว 4.5%) หลังจากสหรัฐคว่ำบาตรด้วยการห้ามทุกประเทศซื้อขายน้ำมันกับอิหร่านภายในวันที่ 4 พ.ย. แต่ล่าสุด สหรัฐผ่อนปรนให้บางประเทศซื้อน้ำมันจากอิหร่าน (เดิมห้ามทุกประเทศซื้อขายน้ำมัน) ทำให้ตลาดคาดว่าสหรัฐอาจจะยกเลิกคว่ำบาตรอิหร่านในอนาคต และแนวโน้มความต้องการใช้น้ำมันดิบโลกที่จะชะลอลง จากผลกระทบสงครามการค้าสหรัฐ-จีน ที่เริ่มเกิดขึ้นแล้ว และ Dollar Index มีแนวโน้มแข็งค่าต่อเนื่องราว 3% นับตั้งแต่ต้นปี จากดอกเบี้ยขาขึ้นของสหรัฐในอัตราเร่ง น่าจะกดดันหุ้นน้ำมันลงมาต่ำกว่า 70 เหรียญฯ ขณะที่ราคาหุ้นใกล้เคียงกับมูลค่าหุ้นปี 2561 หรือมี Upside จำกัด แนะนำขายทั้ง PTT(FV@B54) และ PTTEP(FV@B137)
ราคาน้ำมันดิบโลกที่ย่อตัวแรง จากปัญหา Oversupply น้ำมันในตลาดโลก หลังจากประเทศในกลุ่ม OPEC อาทิ ซาอุดิอาระเบียทยอยเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมัน ราว 5 แสนบาร์เรล/วัน ล่าสุด เดือน มิ.ย. อยู่ที่ 10.5 ล้านบาร์เรล/วัน (31.4%ของกำลังการผลิตกลุ่ม OPEC) เพื่อชดเชยกำลังการผลิตที่หายไปของอิหร่าน (ผลิตวันละ 3.81 ล้านบาร์เรลราว 11.9%) และเวเนซุเอล่า (ราว 4.5%) หลังจากสหรัฐคว่ำบาตรด้วยการห้ามทุกประเทศซื้อขายน้ำมันกับอิหร่านภายในวันที่ 4 พ.ย. แต่ล่าสุด สหรัฐผ่อนปรนให้บางประเทศซื้อน้ำมันจากอิหร่าน (เดิมห้ามทุกประเทศซื้อขายน้ำมัน) ทำให้ตลาดคาดว่าสหรัฐอาจจะยกเลิกคว่ำบาตรอิหร่านในอนาคต และแนวโน้มความต้องการใช้น้ำมันดิบโลกที่จะชะลอลง จากผลกระทบสงครามการค้าสหรัฐ-จีน ที่เริ่มเกิดขึ้นแล้ว และ Dollar Index มีแนวโน้มแข็งค่าต่อเนื่องราว 3% นับตั้งแต่ต้นปี จากดอกเบี้ยขาขึ้นของสหรัฐในอัตราเร่ง น่าจะกดดันหุ้นน้ำมันลงมาต่ำกว่า 70 เหรียญฯ ขณะที่ราคาหุ้นใกล้เคียงกับมูลค่าหุ้นปี 2561 หรือมี Upside จำกัด แนะนำขายทั้ง PTT(FV@B54) และ PTTEP(FV@B137)
ต่างชาติสลับมาขายหุ้นในภูมิภาค และยังขายหุ้นไทยต่อเนื่อง 11 วัน
วานนี้ต่างชาติสลับมาขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคราว 238 ล้านหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิ 2 วัน) และเป็นการขายสุทธิเกือบทุกประเทศ ยกเว้นอินโดนีเซียเพียงแห่งเดียวที่ถูกซื้อสุทธิ 5 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 5) ส่วนตลาดหุ้นที่เหลืออีก 4 ประเทศ ถูกขายสุทธิ คือ ไต้หวันถูกขายสุทธิ 115 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว) ตามมาด้วยเกาหลีใต้ 100 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิ 4 วัน), ฟิลิปปินส์ 5 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 8) และไทยที่ถูกต่างชาติขายสุทธิอีก 23 ล้านเหรียญ หรือ 760 ล้านบาท (ขายสุทธิติดต่อกันเป็นวันที่ 11) เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่สลับมาขายสุทธิ 308 ล้านบาท (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว)
ส่วนทางด้านตราสารหนี้ ต่างชาติสลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อย 123 ล้านบาท (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน) ขณะที่ Bond Yield 10 ปี ลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.74%
ห้ามใช้ Transfat กระทบต้นทุนผลิตขนม : AU, SNP, PB, MINT และ CENTEL
เมื่อ 13 ก.ค. ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุข ได้ห้ามผลิต/จำหน่าย หรือนำเข้า น้ำมันและอาหารที่มีน้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนเป็นส่วนประกอบ (Transfat) อาทิ กลุ่มมาการีน และครีมเทียม ฯลฯ ทำให้ผู้ประกอบการต้องปรับเปลี่ยนสูตรในการผลิตอาหาร ซึ่งจะกระทบต้นทุนการผลิต และอัตราการทำกำไร ทั้งนี้ขึ้นกับโครงสร้างต้นทุนการผลิต
จากการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ พบว่ามีหลายบริษัทที่ผลิตและจำหน่ายขนมปัง หรือ Bakery คือ PB (book value 15.6 บาท) รายได้หลักมาจากขายเบเกอรี่ราว 90% ของยอดขาย และ SNP (book value 5.3 บาท) มีรายได้เบเกอรี่ 42% รองลงมาคือ AU, CENTEL, MINT ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
AU (SWITCH:[email protected]) เพราะเป็นร้านเบเกอรี่แบบ Premium คาดวัตถุดิบที่ใช้ในเบเกอรี่ส่วนใหญ่เช่น ขนมปังโทสต์ หรือ เค้ก ไม่ได้ใช้มาการีน หรือส่วนผสมที่เป็นไขมันทรานส์ ยกเว้น เฉพาะในส่วนของไอศกรีมบางรสชาติที่ผสมครีมเทียม ซึ่งคาดสัดส่วนรายได้ไม่ถึง 10-20% ของรายได้รวม
CENTEL (BUY:[email protected]) ประเมินร้านอาหารที่ได้รับผลกระทบได้แก่ Mister Donut ที่มีผลิตภัณฑ์ส่วนผสมไขมันทรานส์ ขณะที่ KFC และ Auntie Anne’s ล่าสุดมีการยืนยันว่าอาหารปราศจากไขมันทรานส์ อย่างไรก็ตาม ในส่วนของขนมมีต้นทุนใช้มาการีนประมาณ 3-4% ของต้นทุนรวม จึงน่าจะกระทบกำไรไม่มาก โดยรายได้จาก Mister Donut คิดเป็น 8% ของรายได้รวม และสร้างกำไรคิดเป็นสัดส่วนไม่เกิน 5% ของกำไรรวม
และ MINT (BUY:[email protected]) เนื่องจากไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเรื่องต้นทุนวัตถุดิบที่ชัดเจน เท่าที่เปิดเผยบริษัทมีโรงงานผลิตชีส เป็นของตัวเอง ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับไขมันทรานส์ รวมถึงมีการ outsource จากภายนอก โดยร้านอาหาร/ขนมที่คาดได้รับผลกระทบได้แก่ Dairy Queen, Swensen’s, Pizza Company และ Breadtalk สร้างรายได้คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 15% ของรายได้ทั้งหมด และกำไรคิดเป็นสัดส่วนไม่เกิน 10% ของฐานกำไรรวม
โดยสรุปนักวิเคราะห์ ASPS ได้สอบถามทางบริษัท 3 แห่ง คือ CENTEL, MINT และ AU ได้รับคำตอบว่า การเปลี่ยนกฏหมายดังกล่าวน่าจะกระทบต่อกำไรเล็กน้อย โดยแต่ละบริษัทมีแนวทางในการปรับสูตรให้ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหากต้นทุนสูงขึ้นจะสามารถผลักภาระไปยังผู้บริโภค โดยการเพิ่มราคาขาย หรือ คงราคาเดิม แต่ปรับลดขนาด/ปริมาณขนมแทน
วานนี้ต่างชาติสลับมาขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคราว 238 ล้านหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิ 2 วัน) และเป็นการขายสุทธิเกือบทุกประเทศ ยกเว้นอินโดนีเซียเพียงแห่งเดียวที่ถูกซื้อสุทธิ 5 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 5) ส่วนตลาดหุ้นที่เหลืออีก 4 ประเทศ ถูกขายสุทธิ คือ ไต้หวันถูกขายสุทธิ 115 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว) ตามมาด้วยเกาหลีใต้ 100 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิ 4 วัน), ฟิลิปปินส์ 5 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 8) และไทยที่ถูกต่างชาติขายสุทธิอีก 23 ล้านเหรียญ หรือ 760 ล้านบาท (ขายสุทธิติดต่อกันเป็นวันที่ 11) เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่สลับมาขายสุทธิ 308 ล้านบาท (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว)
ส่วนทางด้านตราสารหนี้ ต่างชาติสลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อย 123 ล้านบาท (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน) ขณะที่ Bond Yield 10 ปี ลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.74%
ห้ามใช้ Transfat กระทบต้นทุนผลิตขนม : AU, SNP, PB, MINT และ CENTEL
เมื่อ 13 ก.ค. ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุข ได้ห้ามผลิต/จำหน่าย หรือนำเข้า น้ำมันและอาหารที่มีน้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนเป็นส่วนประกอบ (Transfat) อาทิ กลุ่มมาการีน และครีมเทียม ฯลฯ ทำให้ผู้ประกอบการต้องปรับเปลี่ยนสูตรในการผลิตอาหาร ซึ่งจะกระทบต้นทุนการผลิต และอัตราการทำกำไร ทั้งนี้ขึ้นกับโครงสร้างต้นทุนการผลิต
จากการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ พบว่ามีหลายบริษัทที่ผลิตและจำหน่ายขนมปัง หรือ Bakery คือ PB (book value 15.6 บาท) รายได้หลักมาจากขายเบเกอรี่ราว 90% ของยอดขาย และ SNP (book value 5.3 บาท) มีรายได้เบเกอรี่ 42% รองลงมาคือ AU, CENTEL, MINT ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
AU (SWITCH:[email protected]) เพราะเป็นร้านเบเกอรี่แบบ Premium คาดวัตถุดิบที่ใช้ในเบเกอรี่ส่วนใหญ่เช่น ขนมปังโทสต์ หรือ เค้ก ไม่ได้ใช้มาการีน หรือส่วนผสมที่เป็นไขมันทรานส์ ยกเว้น เฉพาะในส่วนของไอศกรีมบางรสชาติที่ผสมครีมเทียม ซึ่งคาดสัดส่วนรายได้ไม่ถึง 10-20% ของรายได้รวม
CENTEL (BUY:[email protected]) ประเมินร้านอาหารที่ได้รับผลกระทบได้แก่ Mister Donut ที่มีผลิตภัณฑ์ส่วนผสมไขมันทรานส์ ขณะที่ KFC และ Auntie Anne’s ล่าสุดมีการยืนยันว่าอาหารปราศจากไขมันทรานส์ อย่างไรก็ตาม ในส่วนของขนมมีต้นทุนใช้มาการีนประมาณ 3-4% ของต้นทุนรวม จึงน่าจะกระทบกำไรไม่มาก โดยรายได้จาก Mister Donut คิดเป็น 8% ของรายได้รวม และสร้างกำไรคิดเป็นสัดส่วนไม่เกิน 5% ของกำไรรวม
และ MINT (BUY:[email protected]) เนื่องจากไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเรื่องต้นทุนวัตถุดิบที่ชัดเจน เท่าที่เปิดเผยบริษัทมีโรงงานผลิตชีส เป็นของตัวเอง ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับไขมันทรานส์ รวมถึงมีการ outsource จากภายนอก โดยร้านอาหาร/ขนมที่คาดได้รับผลกระทบได้แก่ Dairy Queen, Swensen’s, Pizza Company และ Breadtalk สร้างรายได้คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 15% ของรายได้ทั้งหมด และกำไรคิดเป็นสัดส่วนไม่เกิน 10% ของฐานกำไรรวม
โดยสรุปนักวิเคราะห์ ASPS ได้สอบถามทางบริษัท 3 แห่ง คือ CENTEL, MINT และ AU ได้รับคำตอบว่า การเปลี่ยนกฏหมายดังกล่าวน่าจะกระทบต่อกำไรเล็กน้อย โดยแต่ละบริษัทมีแนวทางในการปรับสูตรให้ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหากต้นทุนสูงขึ้นจะสามารถผลักภาระไปยังผู้บริโภค โดยการเพิ่มราคาขาย หรือ คงราคาเดิม แต่ปรับลดขนาด/ปริมาณขนมแทน
SCC ซื้อกิจการค้าปลีก ขยาย Marketing Arm ในอินโดนีเซีย
วานนี้ SCC แจ้งต่อตลาดฯ ว่า บริษัทเอสซีจี รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด (ซึ่งเป็นบริษัทย่อยในธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้างที่ SCC ถือหุ้น 100%) ได้ซื้อหุ้น 29% ในบริษัท PT Catur Sentosa Adiprana Tbk (CSA) ซึ่งดำเนินธุรกิจห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Retail) ภายใต้ชื่อ “Mitra10” และ “Atria” และธุรกิจกระจายสินค้าวัสดุก่อสร้างและสินค้าเกี่ยวกับบ้าน ในประเทศอินโดนีเซีย คาดว่าจะใช้เงินลงทุนราว 1,035 พันล้านรูเปียห์ (ประมาณ 2,400 ล้านบาท) โดยซื้อหุ้นเพิ่มทุนออกใหม่และหุ้นเดิมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในปัจจุบัน คาดว่าจะแล้วเสร็จช่วง 3Q61
แม้ว่าสัดส่วนกำไรจาก CSA ไม่ได้มีนัยฯ ต่อประมาณกำไรของ SCC โดยในปี 2560 CSA มียอดขายรวมราว 9.34 ล้านล้านรูเปียห์ (ราว 2.2 หมื่นล้านบาท) กำไรสุทธิ 8.9 หมื่นล้านรูเปียห์ (ราว 206 ล้านบาท) คิดเป็นกำไรตามสัดส่วนที่ SCC ถือหุ้นแค่ประมาณ 60 ล้านบาทเท่านั้น แต่ก็ถือเป็นการเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจของ SCC ในการที่จะหาช่องทางการกระจายสินค้า (Marketing Arm) ในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น โดยเฉพาะในตลาดอินโดนีเซียที่กำลังเติบโต หลังจากช่วงที่ผ่านมาได้เข้าไปลงทุนในธุรกิจปูนซีเมนต์ในหลายประเทศในภูมิภาคฯ ทั้งนี้ CSA มีสาขาเปิดดำเนินการอยู่จำนวน 27 สาขา ในเมืองใหญ่ๆ ของอินโดนีเซีย และมีธุรกิจกระจายสินค้าที่มีเครือข่ายร้านค้าปลีกสำหรับสินค้าวัสดุก่อสร้างมากกว่า 30,000 แห่งทั่วประเทศ
วานนี้ SCC แจ้งต่อตลาดฯ ว่า บริษัทเอสซีจี รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด (ซึ่งเป็นบริษัทย่อยในธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้างที่ SCC ถือหุ้น 100%) ได้ซื้อหุ้น 29% ในบริษัท PT Catur Sentosa Adiprana Tbk (CSA) ซึ่งดำเนินธุรกิจห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Retail) ภายใต้ชื่อ “Mitra10” และ “Atria” และธุรกิจกระจายสินค้าวัสดุก่อสร้างและสินค้าเกี่ยวกับบ้าน ในประเทศอินโดนีเซีย คาดว่าจะใช้เงินลงทุนราว 1,035 พันล้านรูเปียห์ (ประมาณ 2,400 ล้านบาท) โดยซื้อหุ้นเพิ่มทุนออกใหม่และหุ้นเดิมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในปัจจุบัน คาดว่าจะแล้วเสร็จช่วง 3Q61
แม้ว่าสัดส่วนกำไรจาก CSA ไม่ได้มีนัยฯ ต่อประมาณกำไรของ SCC โดยในปี 2560 CSA มียอดขายรวมราว 9.34 ล้านล้านรูเปียห์ (ราว 2.2 หมื่นล้านบาท) กำไรสุทธิ 8.9 หมื่นล้านรูเปียห์ (ราว 206 ล้านบาท) คิดเป็นกำไรตามสัดส่วนที่ SCC ถือหุ้นแค่ประมาณ 60 ล้านบาทเท่านั้น แต่ก็ถือเป็นการเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจของ SCC ในการที่จะหาช่องทางการกระจายสินค้า (Marketing Arm) ในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น โดยเฉพาะในตลาดอินโดนีเซียที่กำลังเติบโต หลังจากช่วงที่ผ่านมาได้เข้าไปลงทุนในธุรกิจปูนซีเมนต์ในหลายประเทศในภูมิภาคฯ ทั้งนี้ CSA มีสาขาเปิดดำเนินการอยู่จำนวน 27 สาขา ในเมืองใหญ่ๆ ของอินโดนีเซีย และมีธุรกิจกระจายสินค้าที่มีเครือข่ายร้านค้าปลีกสำหรับสินค้าวัสดุก่อสร้างมากกว่า 30,000 แห่งทั่วประเทศ
Earnings Preview
ความผันผวนที่เกิดขึ้นในตลาดช่วงนี้ ส่วนหนึ่งอาจมาจากการเก็งกำไรงบ 2Q61 ซึ่งเริ่มต้นที่กลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่คาดว่าจะลดลง 11%QoQ ซึ่งเป็นผลกระทบจากการลดค่าธรรมบริการธุรกิจ on-line และตามด้วยกลุ่มธุรกิจจริง (Real sector) ทั้งนี้ฝ่ายวิจัยได้ทยอยทำการประเมินผลการดำเนินงานออกมา คือ
TRUE (switch : [email protected]) คาด 2Q61 จะพลิกมามีกำไร เท่ากับ 2.6 หมื่นล้านบาท หากไม่รวมกำไรจากการขายทรัพย์สินเข้า DIF คาดขาดทุนปกติ 850 ล้านบาท เพิ่ม 38%qoq จากต้นทุนค่าเช่าทรัพย์สินที่ขายให้ DIF และต้นทุนค่าอุดหนุนเครื่องลดลง ขณะที่ ตั้งแต่ 3Q61 จะดีขึ้น จากการคุมต้นทุน และต้นทุนอุดหนุนเครื่องที่ลดลงเร็วกว่าฝ่ายวิจัยคาดจะค่อยๆเริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2562 หนุนผลประกอบการอาจดีกว่าคาด ส่วนต้นทุนประหยัดได้จากแนวโน้มไม่ร่วมประมูล ส.ค. นี้ (คลื่นพอแล้ว) คาดหักล้างรายได้เติบโตช้าลง
TVO (switch: FV@B31) คาด 2Q61 มีกำไรปกติ 575 ล้านบาท เติบโต 12% QoQ และ 215% YoY เป็นผลจากราคาขายกากถั่วเหลืองในประเทศปรับเพิ่มมากกว่าต้นทุนผลิต ส่วนผลกระทบจากสงครามการค้าส่งผลให้กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ปรับลดความต้องการใช้ถั่วเหลือง ปี 2561/62 ลง ทำให้แนวโน้มราคากากถั่วเหลืองในประเทศ 2H61 ปรับตัวลดลงจาก 1H61 ฝ่ายวิจัยจึงปรับกำไรปี 2561 ลงจากเดิม 17% ที่ 1,926 ล้านบาท (+44% yoy) และให้ราคาเหมาะสมใหม่ที่ 31 บาท อิง P/E 13 เท่า (เดิม 40 บาท)
MTC (Buy: FV@B42) คาดกำไรสุทธิ 2Q61 ยังทำ new high ได้ต่อเนื่องที่ระดับ 879 ล้านบาท เติบโต 5.5% qoq และ 53.9% yoy หนุนจากการเติบโตของธุรกิจสินเชื่อ สำหรับ spread คาดลดลง 28bps จาก 1Q61 มาอยู่ที่ 19.60% จากการปรับลดดอกเบี้ยให้แก่ลูกค้าจากการแข่งขันที่รุนแรงในตลาด ขณะที่ต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายยังมีแนวโน้มสูงขึ้นจากเพิ่มสัดส่วนหนี้สินระยะยาวโดยเฉพาะหุ้นกู้เข้ามามากขึ้น ส่วนคุณภาพสินทรัพย์ยังไม่มีประเด็นน่ากังวล แต่เริ่มให้น้ำหนักไปที่การเติบโตระยะยาวและหลักเกณฑ์คุม Non-bank ที่อยู่ระหว่างรอความชัดเจน นำไปสู่การลดมูลค่าพื้นฐาน เหลือ 42 บาท (เดิม 51 บาท) โดยยังคงแนะนำซื้อ แต่เน้นทยอยลงทุน
ความผันผวนที่เกิดขึ้นในตลาดช่วงนี้ ส่วนหนึ่งอาจมาจากการเก็งกำไรงบ 2Q61 ซึ่งเริ่มต้นที่กลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่คาดว่าจะลดลง 11%QoQ ซึ่งเป็นผลกระทบจากการลดค่าธรรมบริการธุรกิจ on-line และตามด้วยกลุ่มธุรกิจจริง (Real sector) ทั้งนี้ฝ่ายวิจัยได้ทยอยทำการประเมินผลการดำเนินงานออกมา คือ
TRUE (switch : [email protected]) คาด 2Q61 จะพลิกมามีกำไร เท่ากับ 2.6 หมื่นล้านบาท หากไม่รวมกำไรจากการขายทรัพย์สินเข้า DIF คาดขาดทุนปกติ 850 ล้านบาท เพิ่ม 38%qoq จากต้นทุนค่าเช่าทรัพย์สินที่ขายให้ DIF และต้นทุนค่าอุดหนุนเครื่องลดลง ขณะที่ ตั้งแต่ 3Q61 จะดีขึ้น จากการคุมต้นทุน และต้นทุนอุดหนุนเครื่องที่ลดลงเร็วกว่าฝ่ายวิจัยคาดจะค่อยๆเริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2562 หนุนผลประกอบการอาจดีกว่าคาด ส่วนต้นทุนประหยัดได้จากแนวโน้มไม่ร่วมประมูล ส.ค. นี้ (คลื่นพอแล้ว) คาดหักล้างรายได้เติบโตช้าลง
TVO (switch: FV@B31) คาด 2Q61 มีกำไรปกติ 575 ล้านบาท เติบโต 12% QoQ และ 215% YoY เป็นผลจากราคาขายกากถั่วเหลืองในประเทศปรับเพิ่มมากกว่าต้นทุนผลิต ส่วนผลกระทบจากสงครามการค้าส่งผลให้กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ปรับลดความต้องการใช้ถั่วเหลือง ปี 2561/62 ลง ทำให้แนวโน้มราคากากถั่วเหลืองในประเทศ 2H61 ปรับตัวลดลงจาก 1H61 ฝ่ายวิจัยจึงปรับกำไรปี 2561 ลงจากเดิม 17% ที่ 1,926 ล้านบาท (+44% yoy) และให้ราคาเหมาะสมใหม่ที่ 31 บาท อิง P/E 13 เท่า (เดิม 40 บาท)
MTC (Buy: FV@B42) คาดกำไรสุทธิ 2Q61 ยังทำ new high ได้ต่อเนื่องที่ระดับ 879 ล้านบาท เติบโต 5.5% qoq และ 53.9% yoy หนุนจากการเติบโตของธุรกิจสินเชื่อ สำหรับ spread คาดลดลง 28bps จาก 1Q61 มาอยู่ที่ 19.60% จากการปรับลดดอกเบี้ยให้แก่ลูกค้าจากการแข่งขันที่รุนแรงในตลาด ขณะที่ต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายยังมีแนวโน้มสูงขึ้นจากเพิ่มสัดส่วนหนี้สินระยะยาวโดยเฉพาะหุ้นกู้เข้ามามากขึ้น ส่วนคุณภาพสินทรัพย์ยังไม่มีประเด็นน่ากังวล แต่เริ่มให้น้ำหนักไปที่การเติบโตระยะยาวและหลักเกณฑ์คุม Non-bank ที่อยู่ระหว่างรอความชัดเจน นำไปสู่การลดมูลค่าพื้นฐาน เหลือ 42 บาท (เดิม 51 บาท) โดยยังคงแนะนำซื้อ แต่เน้นทยอยลงทุน
SET ย่อตัวต่อ เน้น Domestic Play เป็นหลัก
ตลาดยังผันผวนจากการประกาศงบฯ แม้ปัจจัยภายนอกอย่างสงครามการค้าผ่อนคลาย แต่ยังเชื่อว่าผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจและการค้าโลกจะชัดเจนในปี 2562 ขณะที่ในระยะสั้นน่าจะเห็นการกลับมา Outperform ของหุ้นกลุ่มส่งออกอาหารและชิ้นส่วนฯ เนื่องจากราคาปรับตัวลงไปมากในช่วงก่อนหน้าซึ่งได้สะท้อนความกังวลไประดับหนึ่ง ประกอบกับค่าเงินบาทที่ยังมีแนวโน้มอ่อนค่า จึงเป็นปัจจัยหนุน เน้น selective buy เลือกหุ้นส่งออก-อาหาร GFPT(FV@14), CPF(FV@30) และหุ้นชิ้นส่วนฯ HANA(FV@40) แม้มี upside 11% แต่สามารถลงทุนได้เมื่อราคาอ่อนตัว นอกจากนี้ HANA ยังเป็นหุ้นที่ไม่มีหนี้สิน จึงปลอดภัยจากทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น มากสุดในกลุ่มฯ
อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การลงทุนหลัก เน้นหุ้นที่อิงเศรษฐกิจในประเทศ และมีเกราะป้องกันจากดอกเบี้ยขาขึ้น โดยให้น้ำหนักลงทุน 40% ของพอร์ต ชอบ TTW, RATCH, BJC, DTAC, ADVANC, BBL, KBANK และ BH
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
โยธิน ภูคงนิล ผู้ช่วยนักวิเคราะห์เชิงปริมาณ
เจิดจรัส แก้วเกื้อ ผู้ช่วยนักวิเคราะห์
วรรณพฤกษ์ โกมลวิทยาธร ผู้ช่วยนักเศรษฐศาสตร์
OO11356
ตลาดยังผันผวนจากการประกาศงบฯ แม้ปัจจัยภายนอกอย่างสงครามการค้าผ่อนคลาย แต่ยังเชื่อว่าผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจและการค้าโลกจะชัดเจนในปี 2562 ขณะที่ในระยะสั้นน่าจะเห็นการกลับมา Outperform ของหุ้นกลุ่มส่งออกอาหารและชิ้นส่วนฯ เนื่องจากราคาปรับตัวลงไปมากในช่วงก่อนหน้าซึ่งได้สะท้อนความกังวลไประดับหนึ่ง ประกอบกับค่าเงินบาทที่ยังมีแนวโน้มอ่อนค่า จึงเป็นปัจจัยหนุน เน้น selective buy เลือกหุ้นส่งออก-อาหาร GFPT(FV@14), CPF(FV@30) และหุ้นชิ้นส่วนฯ HANA(FV@40) แม้มี upside 11% แต่สามารถลงทุนได้เมื่อราคาอ่อนตัว นอกจากนี้ HANA ยังเป็นหุ้นที่ไม่มีหนี้สิน จึงปลอดภัยจากทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น มากสุดในกลุ่มฯ
อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การลงทุนหลัก เน้นหุ้นที่อิงเศรษฐกิจในประเทศ และมีเกราะป้องกันจากดอกเบี้ยขาขึ้น โดยให้น้ำหนักลงทุน 40% ของพอร์ต ชอบ TTW, RATCH, BJC, DTAC, ADVANC, BBL, KBANK และ BH
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
โยธิน ภูคงนิล ผู้ช่วยนักวิเคราะห์เชิงปริมาณ
เจิดจรัส แก้วเกื้อ ผู้ช่วยนักวิเคราะห์
วรรณพฤกษ์ โกมลวิทยาธร ผู้ช่วยนักเศรษฐศาสตร์
OO11356