- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Wednesday, 25 April 2018 16:48
- Hits: 1034
บล.เอเซียพลัส : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
กลยุทธ์การลงทุน
ตลาดได้แรงหนุน หลังรัฐอุ้มทีวีดิจิตอล ลดค่าเช่าโครงข่าย 2 ปี ยืดชำระค่าใบอนุญาต ช่วยต่อลมหายใจรายที่ CFO ติดลบ พร้อมเปิดโอกาสให้ควบรวมกิจการกันง่ายขึ้น บวกต่อทั้งกลุ่ม โดยเฉพาะ BEC ยังมีประเด็นบวกกลุ่ม ICT หลัง DTAC ได้คลื่น 2300 MHz ช่วยเพิ่มบริการ 4G ลดการแข่งขันประมูล 1800 ส่วน earnings preview หุ้น real sector ยังหนุนรายหุ้น ชอบหุ้นส่งออก (อาหาร-ชิ้นส่วนฯ) แม้งวด 1Q61 กำไรจะต่ำสุด แต่จะดีขึ้นในงวดถัดไป บวกเงินบาทที่กลับมาอ่อนค่า Top picks เลือก HANA(FV@B46), CPF(FV@B30) และ DTAC(FV@B68)
ย้อนรอยหุ้นไทยวานนี้...แรงขายหุ้นแบงก์ ฉุดดัชนีฯปิดลบ
วานนี้ตลาดหุ้นไทยแกว่งผันผวนแรง ระหว่างวันขึ้นไปยืนเหนือ 1800 จุด แต่ก็เจอกับแรงขายช่วงท้ายตลาดกดดัชนีกลับลงมาปิดที่ 1788.20 จุด ลดลง 1.94 จุด หรือ 0.11% มูลค่าการซื้อขายหนาแน่น 7.89 หมื่นล้านบาท โดยเป็นการซื้อขายในหุ้น PTT สูงถึงเกือบ 1.9 หมื่นล้านบาท หรือกว่า 23% ของมูลค่าการซื้อขายทั้งตลาด ขณะที่ราคาหุ้น PTT วานนี้ยังสามารถขยับขึ้นได้ต่อ หนุนให้ PTTEP และกลุ่มพลังงานนำตลาด เช่นเดียวกับหุ้นในกลุ่ม ICT (ADVANC, DTAC) และกลุ่มบันเทิง (WORK, BEC, MONO) ปรับขึ้นได้จากปัจจัยหนุนเฉพาะตัว อย่างไรก็ตาม ยังเห็นแรงขายค่อนข้างหนักในกลุ่ม ธ.พ. นำโดย SCB BBL และ KBANK รวมทั้งแรง sell on ในรายหุ้นอย่าง HMPRO ด้วยเช่นกัน
สำหรับแนวโน้มตลาดฯ วันนี้ คาด SET Index แกว่งตัวลง แนวรับ 1777 จุด แนวต้าน 1796 จุด โดยปัจจัยวันนี้ ยังคงเป็นประเด็นที่ คสช. ใช้ ม. 44 ช่วยผู้ประกอบการทีวีดิจิทัล นับเป็นการต่อลมหายใจให้กับผู้ประกอบการหลายราย นอกจากนี้ ยังมีประเด็นของกลุ่ม ICT จากแนวโน้มการแข่งขันลดความรุนแรงลงหลัง DTAC ได้คลื่น 2300MHz
กลยุทธ์การลงทุน
ตลาดได้แรงหนุน หลังรัฐอุ้มทีวีดิจิตอล ลดค่าเช่าโครงข่าย 2 ปี ยืดชำระค่าใบอนุญาต ช่วยต่อลมหายใจรายที่ CFO ติดลบ พร้อมเปิดโอกาสให้ควบรวมกิจการกันง่ายขึ้น บวกต่อทั้งกลุ่ม โดยเฉพาะ BEC ยังมีประเด็นบวกกลุ่ม ICT หลัง DTAC ได้คลื่น 2300 MHz ช่วยเพิ่มบริการ 4G ลดการแข่งขันประมูล 1800 ส่วน earnings preview หุ้น real sector ยังหนุนรายหุ้น ชอบหุ้นส่งออก (อาหาร-ชิ้นส่วนฯ) แม้งวด 1Q61 กำไรจะต่ำสุด แต่จะดีขึ้นในงวดถัดไป บวกเงินบาทที่กลับมาอ่อนค่า Top picks เลือก HANA(FV@B46), CPF(FV@B30) และ DTAC(FV@B68)
ย้อนรอยหุ้นไทยวานนี้...แรงขายหุ้นแบงก์ ฉุดดัชนีฯปิดลบ
วานนี้ตลาดหุ้นไทยแกว่งผันผวนแรง ระหว่างวันขึ้นไปยืนเหนือ 1800 จุด แต่ก็เจอกับแรงขายช่วงท้ายตลาดกดดัชนีกลับลงมาปิดที่ 1788.20 จุด ลดลง 1.94 จุด หรือ 0.11% มูลค่าการซื้อขายหนาแน่น 7.89 หมื่นล้านบาท โดยเป็นการซื้อขายในหุ้น PTT สูงถึงเกือบ 1.9 หมื่นล้านบาท หรือกว่า 23% ของมูลค่าการซื้อขายทั้งตลาด ขณะที่ราคาหุ้น PTT วานนี้ยังสามารถขยับขึ้นได้ต่อ หนุนให้ PTTEP และกลุ่มพลังงานนำตลาด เช่นเดียวกับหุ้นในกลุ่ม ICT (ADVANC, DTAC) และกลุ่มบันเทิง (WORK, BEC, MONO) ปรับขึ้นได้จากปัจจัยหนุนเฉพาะตัว อย่างไรก็ตาม ยังเห็นแรงขายค่อนข้างหนักในกลุ่ม ธ.พ. นำโดย SCB BBL และ KBANK รวมทั้งแรง sell on ในรายหุ้นอย่าง HMPRO ด้วยเช่นกัน
สำหรับแนวโน้มตลาดฯ วันนี้ คาด SET Index แกว่งตัวลง แนวรับ 1777 จุด แนวต้าน 1796 จุด โดยปัจจัยวันนี้ ยังคงเป็นประเด็นที่ คสช. ใช้ ม. 44 ช่วยผู้ประกอบการทีวีดิจิทัล นับเป็นการต่อลมหายใจให้กับผู้ประกอบการหลายราย นอกจากนี้ ยังมีประเด็นของกลุ่ม ICT จากแนวโน้มการแข่งขันลดความรุนแรงลงหลัง DTAC ได้คลื่น 2300MHz
เงินเฟ้อสูง เร่งธนาคารกลางโลก อาจขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น
ปัจจัยต่างประเทศยังรอผลการทำประชาพิจารณ์ของฝั่งสหรัฐ กับผลกระทบของการขึ้นภาษีการค้า สหรัฐ-จีน ซึ่งน่าจะทราบผล 15 พ.ค. และหลังจากนั้นอีก 1 เดือนถึงจะมีผลบังคับใช้ กับท่าทีของจีน
ขณะที่ราคาน้ำมันดิบโลกยังแกว่งตัวใกล้ 70 เหรียญฯ น่าจะหนุนเงินเฟ้อโลก ซึ่งจะกดดันให้ธนาคารกลางโลกเดินหน้าขึ้นดอกเบี้ยเร็วกว่าคาด โดยเฉพาะสหรัฐ เงินเฟ้อเดือน มี.ค. อยู่ที่ 2.4% เทียบกับ ดอกเบี้ยฯที่ 1.75% ขณะที่ คณะกรรมการ Fed ส่วนใหญ่ สนับสนุนการขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น หลังดัชนีชี้นำเศรษฐกิจสหรัฐฟื้นตัวต่อเนื่อง (ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคล่าสุด ระดับสูงสุดในรอบ 17 ปี และ ยอดขายบ้านใหม่และมือสอง เพิ่ม 2 เดือนติด) หนุน Bond Yield อายุ 10 ปี สหรัฐ แตะระดับ 3% สูงสุดในรอบ 4 ปี ทำให้มีโอกาสขึ้นดอกเบี้ยฯ มากกว่า 2 ครั้ง (ผลสำรวจของ Bloomberg คาดจะขึ้นดอกเบี้ยรอบ มิ.ย. นี้มีโอกาส 92.4%)
ขณะที่ยุโรป เงินเฟ้อ.ล่าสุด 1.3% เทียบกับ ดอกเบี้ยฯที่ 0% (ตั้งแต่ มี.ค. 2559) การ ประชุมธนาคารกลาง (ECB) พรุ่งนี้น่าจะยืนดอกเบี้ยนโยบายที่เดิม แต่น่าจะ ขึ้นดอกเบี้ยในช่วง 4Q61
และ ญี่ปุ่น การประชุมนาคารกลางญี่ปุ่น(BOJ) ประชุม 26-27 เม.ย. ตลาดคาดยังคงดอกเบี้ยฯที่เดิม (- 0.1% นับตั้งแต่ พ.ย. 2558) แต่มีโอกาสใช้นโยบายการเงินตึงตัวในปี 2562 หลังจาก BOJ ส่งสัญญาณเมื่อการประชุมในรอบ ก.พ. ที่ผ่านมา เนื่องจากเงินเฟ้อที่กระเตื้องพุ่งขึ้นแรงที่ 1.1% ในเดือน มี.ค. จาก 0.2% ใน พ.ย. 2560
ปัจจัยต่างประเทศยังรอผลการทำประชาพิจารณ์ของฝั่งสหรัฐ กับผลกระทบของการขึ้นภาษีการค้า สหรัฐ-จีน ซึ่งน่าจะทราบผล 15 พ.ค. และหลังจากนั้นอีก 1 เดือนถึงจะมีผลบังคับใช้ กับท่าทีของจีน
ขณะที่ราคาน้ำมันดิบโลกยังแกว่งตัวใกล้ 70 เหรียญฯ น่าจะหนุนเงินเฟ้อโลก ซึ่งจะกดดันให้ธนาคารกลางโลกเดินหน้าขึ้นดอกเบี้ยเร็วกว่าคาด โดยเฉพาะสหรัฐ เงินเฟ้อเดือน มี.ค. อยู่ที่ 2.4% เทียบกับ ดอกเบี้ยฯที่ 1.75% ขณะที่ คณะกรรมการ Fed ส่วนใหญ่ สนับสนุนการขึ้นดอกเบี้ยเร็วขึ้น หลังดัชนีชี้นำเศรษฐกิจสหรัฐฟื้นตัวต่อเนื่อง (ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคล่าสุด ระดับสูงสุดในรอบ 17 ปี และ ยอดขายบ้านใหม่และมือสอง เพิ่ม 2 เดือนติด) หนุน Bond Yield อายุ 10 ปี สหรัฐ แตะระดับ 3% สูงสุดในรอบ 4 ปี ทำให้มีโอกาสขึ้นดอกเบี้ยฯ มากกว่า 2 ครั้ง (ผลสำรวจของ Bloomberg คาดจะขึ้นดอกเบี้ยรอบ มิ.ย. นี้มีโอกาส 92.4%)
ขณะที่ยุโรป เงินเฟ้อ.ล่าสุด 1.3% เทียบกับ ดอกเบี้ยฯที่ 0% (ตั้งแต่ มี.ค. 2559) การ ประชุมธนาคารกลาง (ECB) พรุ่งนี้น่าจะยืนดอกเบี้ยนโยบายที่เดิม แต่น่าจะ ขึ้นดอกเบี้ยในช่วง 4Q61
และ ญี่ปุ่น การประชุมนาคารกลางญี่ปุ่น(BOJ) ประชุม 26-27 เม.ย. ตลาดคาดยังคงดอกเบี้ยฯที่เดิม (- 0.1% นับตั้งแต่ พ.ย. 2558) แต่มีโอกาสใช้นโยบายการเงินตึงตัวในปี 2562 หลังจาก BOJ ส่งสัญญาณเมื่อการประชุมในรอบ ก.พ. ที่ผ่านมา เนื่องจากเงินเฟ้อที่กระเตื้องพุ่งขึ้นแรงที่ 1.1% ในเดือน มี.ค. จาก 0.2% ใน พ.ย. 2560
คาดประมูลคลื่น 1800 MHz ไม่ดุเดือด หลัง DTAC ได้ 2300 MHz
หลังจาก DTAC ได้คลื่น 2300 MHz ขนาด 60 MHz มูลค่าเช่าใช้ปีละ 4.5 พันล้านบาท (อายุ 7 ปี จาก23 เม.ย. 61 – 3 ส.ค.68 ) ซึ่งนับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญต่อ DTAC เพราะสามารถนำพัฒนาบริการ 4G ได้เต็มที่ ภายใต้คลื่นเดียว ที่มีกำลังให้บริการ 30-45 MHz เทียบกับ ADVANC/ TRUE ให้บริการ 4G บนหลายๆคลื่นรวมกัน คือ 1800+900+2100 MHz เพื่อให้มีคลื่นรวมกัน 30 MHz จึงเป็นข้อเปรียบในด้านประสิทธิภาพการให้บริการ และยังช่วยลดจุดอ่อนที่มีคลื่นให้บริการ 4G น้อยสุด เมื่อคลื่น 1800 จำนวน 45 MHz จะใกล้สิ้นสุดสัมปทาน ก.ย. 61
แต่การที่ DTAC ได้คลื่น 2300 ช้ากว่าเดิมที่คาดไว้ต้นปีนี้ ทำให้บันทึกต้นทุนค่าใช้คลื่น (operation expenses) เพียง 9 เดือน ประกอบกับการลงทุน 2300 จะอยู่บนสถานีฐานเดิม (บนคลื่น 2100) ที่มีอยู่แล้ว ทำให้ติดตั้งอุปกรณ์เร็วและประหยัดงบลงทุน (capex) ต่ำกว่าคาด นักวิเคราะห์ ASPS จึงปรับเพิ่มประมาณการปีนี้ ขึ้นจากเดิมที่คาดว่าขาดทุนเป็นกำไร 827 ล้านบาท และปี 2562 กำไรจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 19.9% พร้อมปรับมูลค่าพื้นฐานใหม่ (อิง DCF ใช้ WACC 9.5%, Long term growth 2%) ที่ 68 บาท เพิ่มจากเดิม 23% ซื้อ (อ่านรายละเอียดใน Equity Talk วานนี้)
นอกจากนี้ยังช่วยลดการแข่งขันการประมูลคลื่น 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นใน 2H61 โดยเฉพาะ DTAC ต้องการคลื่น 1800 Mhz เพื่อให้บริการ 2G ซึ่งมีลูกค้าเพียง 5 ล้านราย (คิดเป็น 23% ของลูกค้าที่มีทั้งหมด 21.8 ล้านราย หรือมีส่วนแบ่งตลาด 25.1% เป็นลำดับ 3 รองจาก TRUE 26.3%, ADVANC 48.6%) ซึ่ง DTAC ต้องเปรียบต้นทุนที่เพิ่มจากการประมูล กับ การเช่าสัญญานจาก ADVANC เพื่อให้บริการลูกค้า 2G ส่วน ADVANC น่าจะยังจำเป็นต้องประมูลคลื่น 1800 เพราะฐานลูกค้าที่มีอยู่สูงสุด ทำให้ประสิทธิภาพน่าจะต่ำสุด (อัตราส่วนลูกค้าต่อ 1 คลื่น 0.7 ขณะ DTAC 0.2 TRUE 0.4)
รัฐต่อลมหายใจทีวีดิจิตอล...BEC, NMG, MCOT เด่นสุด
สรุปว่า รัฐช่วยเหลือผู้ประกอบการทีวีดิจิทัล เป็นครั้งที่ 2 ใน 2 รูปแบบคือ
1. พักชำระหนี้ค่าประอนุญาต 3 ปี พ.ค. 2561-พ.ค. 2563 (จากการช่วยเหลือครั้งแรกเมื่อ พ.ค. 2560 ขยายเวลาชำระจาก 6 งวด เป็น 9 ชำระงวดละ 10% ของค่าประมูลส่วนเกิน ) จากเดิมสิ้นสุด พ.ค. ปี 2565 เลื่อนเป็น พ.ค. 2568 ระหว่างพักชำระหนี้ ต้องจ่ายดอกเบี้ยฯ อัตราเดียวกับดอกเบี้ยนโยบาย 1.5% ต่อปี
2. ลดค่าเช่าใช้โครงข่ายโทรทัศน์ (MUX)ลง 50% ของค่าเช่าปกติ เป็นเวลา 2 ปี ซึ่งคิดแตกต่างกัน ช่อง HD ค่าเช่าปีละ 170 บาท ส่วน SD ปีละ 55 ล้านบาท
นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจเข้ามาง่ายขึ้น โดยไม่จำกัดว่าเป็นรายใหม่หรือรายเดิม เหมือนที่ผ่านมา ยกเว้น ต้องไม่ใช่ชาวต่างชาตินอกจากนี้ ทำให้อุตสาหกรรมมีโอกาสอยู่รอดมากขึ้น แม้ผู้มาใหม่ยังมีภาระที่ต้องจ่ายใบอนุญาตสูงอยู่
นับว่าดีต่อทุกราย เพราะช่วยผ่อนคลายปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่ประสบภาระขาดทุน และกระแสเงินสดดำเนินงานติดลบ (Cash flow from operation/CFO) ได้แก่ MCOT, GRAMMY, AMARIN, NMG, NEWS เป็นต้น ทั้งนี้ยกเว้นบางรายที่มี CFO เพียงพอ และการลด MUX ช่วยลดค่าใช้จ่ายหรือเพิ่มกำไรนับจากงวด 2Q61 เป็นต้นไปรวม 2 ปีคือ
BEC มี CFO 3 พันล้านบาทปี 2560 vs ค่าใบอนุญาต 3 ใบ เฉลี่ยปีละ 500 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 3 ช่องรวม 140 ล้านบาท (จากเดิม 280 ล้านบาท)
WORK มี CFO 1.5 พันล้านบาท vs ค่าใบอนุญาต 1 ใบเฉลี่ยปีละ 395 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 1 ช่อง 27 ล้านบาท (จากเดิม 55 ล้านบาท)
RS มี CFO 1 พันล้านบาท vs ค่าใบอนุญาต 1 ใบเฉลี่ยปีละ 200 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 1 ช่อง 27 ล้านบาท (จากเดิม 55 ล้านบาท)
ส่วน NMG (Nation TV, NOW26) CFO ติดลบ แต่น่าจะประหยัด MUX ได้ปีละ 56 ล้านบาท (จากเดิม 113 ล้านบาท)
โดยสรุป เป็นเพียงการผ่อนลมหายใจเท่านั้น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดทุน เพราะการตัดจ่ายใบอนุญาตยังตัดจ่ายที่ 15 ปี ขณะที่รายได้ยังเพิ่มไม่ทันกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ยกเว้นช่องที่พัฒนา Contents และสามารถยึดฐานตลาดไว้ได้อย่างมั่นคง เช่น BEC, RS, WORK, MONO การลดค่า MUX จะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน 2 ปีข้างหน้า ช่วยเพิ่มกำไรให้ผู้ประกอบdkiที่ประมูลหลายช่องอย่าง BEC
และระยะยาว ผู้ที่จะอยู่รอดได้ต้องมีการมี contents ใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับกระแส รวมถึงการหาช่องทางในการทำธุรกิจเพิ่มเติม over the top (OTT) เนื่องจากคนรุ่นใหม่นิยมรับชมโทรทัศน์ที่ลดลงเหลือ 2 ชม. ต่อวัน แต่กลับนิยมชมทางออนไลน์เพิ่มขึ้น (ผ่านมือถือ, แท๊ปเล็ต) วันละ 4 ชม. เช่น ผ่าน Facebook, Youtube, Onling vedio (ข้อมูลของ We are social) เช่น BEC พัฒนาช่องทางของตนเองผ่าน Mello เป็นต้น ความนิยม OTT ทำให้เม็ดเงินโฆษณาเพิ่มขึ้นในสัดส่วน 13% จากที่อยู่ในระดับ 5% ในปี 2555 โดยไหลจากโฆษณาแบบเดิม ๆ (Analog TV, สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ ลดลง) ในสถานการณ์นี้จึงน่าจะ ในภาวะนี้จึงแนะนำให้ซื้อเก็บกำไรหุ้นบันเทิงที่มีกำไรที่ดีจากมาตรการนี้คือ WORK, BEC, MONO
หลังจาก DTAC ได้คลื่น 2300 MHz ขนาด 60 MHz มูลค่าเช่าใช้ปีละ 4.5 พันล้านบาท (อายุ 7 ปี จาก23 เม.ย. 61 – 3 ส.ค.68 ) ซึ่งนับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญต่อ DTAC เพราะสามารถนำพัฒนาบริการ 4G ได้เต็มที่ ภายใต้คลื่นเดียว ที่มีกำลังให้บริการ 30-45 MHz เทียบกับ ADVANC/ TRUE ให้บริการ 4G บนหลายๆคลื่นรวมกัน คือ 1800+900+2100 MHz เพื่อให้มีคลื่นรวมกัน 30 MHz จึงเป็นข้อเปรียบในด้านประสิทธิภาพการให้บริการ และยังช่วยลดจุดอ่อนที่มีคลื่นให้บริการ 4G น้อยสุด เมื่อคลื่น 1800 จำนวน 45 MHz จะใกล้สิ้นสุดสัมปทาน ก.ย. 61
แต่การที่ DTAC ได้คลื่น 2300 ช้ากว่าเดิมที่คาดไว้ต้นปีนี้ ทำให้บันทึกต้นทุนค่าใช้คลื่น (operation expenses) เพียง 9 เดือน ประกอบกับการลงทุน 2300 จะอยู่บนสถานีฐานเดิม (บนคลื่น 2100) ที่มีอยู่แล้ว ทำให้ติดตั้งอุปกรณ์เร็วและประหยัดงบลงทุน (capex) ต่ำกว่าคาด นักวิเคราะห์ ASPS จึงปรับเพิ่มประมาณการปีนี้ ขึ้นจากเดิมที่คาดว่าขาดทุนเป็นกำไร 827 ล้านบาท และปี 2562 กำไรจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 19.9% พร้อมปรับมูลค่าพื้นฐานใหม่ (อิง DCF ใช้ WACC 9.5%, Long term growth 2%) ที่ 68 บาท เพิ่มจากเดิม 23% ซื้อ (อ่านรายละเอียดใน Equity Talk วานนี้)
นอกจากนี้ยังช่วยลดการแข่งขันการประมูลคลื่น 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นใน 2H61 โดยเฉพาะ DTAC ต้องการคลื่น 1800 Mhz เพื่อให้บริการ 2G ซึ่งมีลูกค้าเพียง 5 ล้านราย (คิดเป็น 23% ของลูกค้าที่มีทั้งหมด 21.8 ล้านราย หรือมีส่วนแบ่งตลาด 25.1% เป็นลำดับ 3 รองจาก TRUE 26.3%, ADVANC 48.6%) ซึ่ง DTAC ต้องเปรียบต้นทุนที่เพิ่มจากการประมูล กับ การเช่าสัญญานจาก ADVANC เพื่อให้บริการลูกค้า 2G ส่วน ADVANC น่าจะยังจำเป็นต้องประมูลคลื่น 1800 เพราะฐานลูกค้าที่มีอยู่สูงสุด ทำให้ประสิทธิภาพน่าจะต่ำสุด (อัตราส่วนลูกค้าต่อ 1 คลื่น 0.7 ขณะ DTAC 0.2 TRUE 0.4)
รัฐต่อลมหายใจทีวีดิจิตอล...BEC, NMG, MCOT เด่นสุด
สรุปว่า รัฐช่วยเหลือผู้ประกอบการทีวีดิจิทัล เป็นครั้งที่ 2 ใน 2 รูปแบบคือ
1. พักชำระหนี้ค่าประอนุญาต 3 ปี พ.ค. 2561-พ.ค. 2563 (จากการช่วยเหลือครั้งแรกเมื่อ พ.ค. 2560 ขยายเวลาชำระจาก 6 งวด เป็น 9 ชำระงวดละ 10% ของค่าประมูลส่วนเกิน ) จากเดิมสิ้นสุด พ.ค. ปี 2565 เลื่อนเป็น พ.ค. 2568 ระหว่างพักชำระหนี้ ต้องจ่ายดอกเบี้ยฯ อัตราเดียวกับดอกเบี้ยนโยบาย 1.5% ต่อปี
2. ลดค่าเช่าใช้โครงข่ายโทรทัศน์ (MUX)ลง 50% ของค่าเช่าปกติ เป็นเวลา 2 ปี ซึ่งคิดแตกต่างกัน ช่อง HD ค่าเช่าปีละ 170 บาท ส่วน SD ปีละ 55 ล้านบาท
นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจเข้ามาง่ายขึ้น โดยไม่จำกัดว่าเป็นรายใหม่หรือรายเดิม เหมือนที่ผ่านมา ยกเว้น ต้องไม่ใช่ชาวต่างชาตินอกจากนี้ ทำให้อุตสาหกรรมมีโอกาสอยู่รอดมากขึ้น แม้ผู้มาใหม่ยังมีภาระที่ต้องจ่ายใบอนุญาตสูงอยู่
นับว่าดีต่อทุกราย เพราะช่วยผ่อนคลายปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่ประสบภาระขาดทุน และกระแสเงินสดดำเนินงานติดลบ (Cash flow from operation/CFO) ได้แก่ MCOT, GRAMMY, AMARIN, NMG, NEWS เป็นต้น ทั้งนี้ยกเว้นบางรายที่มี CFO เพียงพอ และการลด MUX ช่วยลดค่าใช้จ่ายหรือเพิ่มกำไรนับจากงวด 2Q61 เป็นต้นไปรวม 2 ปีคือ
BEC มี CFO 3 พันล้านบาทปี 2560 vs ค่าใบอนุญาต 3 ใบ เฉลี่ยปีละ 500 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 3 ช่องรวม 140 ล้านบาท (จากเดิม 280 ล้านบาท)
WORK มี CFO 1.5 พันล้านบาท vs ค่าใบอนุญาต 1 ใบเฉลี่ยปีละ 395 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 1 ช่อง 27 ล้านบาท (จากเดิม 55 ล้านบาท)
RS มี CFO 1 พันล้านบาท vs ค่าใบอนุญาต 1 ใบเฉลี่ยปีละ 200 ล้านบาท ประหยัดค่า MUX 1 ช่อง 27 ล้านบาท (จากเดิม 55 ล้านบาท)
ส่วน NMG (Nation TV, NOW26) CFO ติดลบ แต่น่าจะประหยัด MUX ได้ปีละ 56 ล้านบาท (จากเดิม 113 ล้านบาท)
โดยสรุป เป็นเพียงการผ่อนลมหายใจเท่านั้น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังขาดทุน เพราะการตัดจ่ายใบอนุญาตยังตัดจ่ายที่ 15 ปี ขณะที่รายได้ยังเพิ่มไม่ทันกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ยกเว้นช่องที่พัฒนา Contents และสามารถยึดฐานตลาดไว้ได้อย่างมั่นคง เช่น BEC, RS, WORK, MONO การลดค่า MUX จะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน 2 ปีข้างหน้า ช่วยเพิ่มกำไรให้ผู้ประกอบdkiที่ประมูลหลายช่องอย่าง BEC
และระยะยาว ผู้ที่จะอยู่รอดได้ต้องมีการมี contents ใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับกระแส รวมถึงการหาช่องทางในการทำธุรกิจเพิ่มเติม over the top (OTT) เนื่องจากคนรุ่นใหม่นิยมรับชมโทรทัศน์ที่ลดลงเหลือ 2 ชม. ต่อวัน แต่กลับนิยมชมทางออนไลน์เพิ่มขึ้น (ผ่านมือถือ, แท๊ปเล็ต) วันละ 4 ชม. เช่น ผ่าน Facebook, Youtube, Onling vedio (ข้อมูลของ We are social) เช่น BEC พัฒนาช่องทางของตนเองผ่าน Mello เป็นต้น ความนิยม OTT ทำให้เม็ดเงินโฆษณาเพิ่มขึ้นในสัดส่วน 13% จากที่อยู่ในระดับ 5% ในปี 2555 โดยไหลจากโฆษณาแบบเดิม ๆ (Analog TV, สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ ลดลง) ในสถานการณ์นี้จึงน่าจะ ในภาวะนี้จึงแนะนำให้ซื้อเก็บกำไรหุ้นบันเทิงที่มีกำไรที่ดีจากมาตรการนี้คือ WORK, BEC, MONO
มาแล้ว ฤดูกาลประเมินงบ Real sector มอง QH, GFPT กำไรดี
หลังจากกลุ่มธ.พ. หลายแห่ง รายงานงบออกมาครบแล้ว จากนี้จะให้น้ำหนักกับการรายงานของกลุ่มธุรกิจจริง (real sector) โดยวานนี้
HMPRO(Switch: [email protected]) รายงานงบฯ งวด 1Q61 เติบโต 19.3% yoy อยู่ที่ 1.25 พันล้านบาท หนุนจากยอดขายสาขาเดิม (SSSG) และการขยายสาขาเพิ่มขึ้น ขณะที่แนวโน้มกำไรงวด 2Q61 คาดเติบโตได้สูงจากกำลังซื้อผู้บริโภคตามหัวเมืองใหญ่ที่ฟื้นตัวตามเศรษฐกิจและภาคการท่องเที่ยว และจากฐานต่ำในงวด 2Q60 ที่ผ่านมา (SSSG หดตัว 6.3%) รวมทั้งประสิทธิภาพทำกำไรที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามแผนการเพิ่มสัดส่วนสินค้า Private brands และผลจากการประหยัดต่อขนาด
ขณะที่หุ้นกลุ่ม Real sector ซึ่งนักวิเคราะห์ ASPS ทยอยทำ Earnings preview ตามลำดับ
MTLS (FV@B51) คาดกำไรสุทธิ 1Q61 new high เติบโตสูงถึง 7.7% qoq และ 49.2% yoy อยู่ที่ 800 ล้านบาท หนุนด้วยการเติบโตของรายได้ดอกเบี้ยรับสุทธิและรายได้ค่าธรรมเนียมฯ ส่วนคุณภาพสินทรัพย์ คาดสัดส่วน NPL ต่อสินเชื่อรวมเพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาที่ 1.36% ซึ่งเป็นปกติสอดคล้องกับการขยายตัวของธุรกิจ และยังเป็นระดับต่ำสุดในกลุ่มเช่าซื้อที่นักวิเคราะห์ ASPS ศึกษา นอกจากนี้บริษัทยังมีการตั้งสำรองหนี้ฯ ที่สูงสุดในกลุ่ม ถึง 252.1% น่าจะช่วยลดความกังวล TFRS 9 ไปได้ สำหรับแนวโน้มในอนาคตคาดกำไรสุทธิยังเติบโตในเชิงรุก จากธุรกิจหลักทั้งสินเชื่อทะเบียนรถจักรยานยนต์และรถยนต์ และการขยายสาขาไปทั่วประเทศ
CENTEL(FV@B56) คาดกำไรปกติ 1Q61 สูงสุดของปี โดยเติบโต 10% yoy อยู่ที่ 861 ล้านบาท ขับเคลื่อนจากธุรกิจโรงแรมสดใสทั้งในไทยและมัลดีฟท์ ส่วนอาหารได้อานิสงค์จากการขยายสาขาใหม่ ชดเชย SSSG ที่ติดลบเล็กน้อย
GFPT(FV@B17) คาดกำไรสุทธิงวด 1Q61 เท่ากับ 231 ล้านบาท ลดลงมากถึง 28.8% qoq และ 45.5% yoy เนื่องจากยังเป็นช่วง low season ของอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังได้รับผลกระทบจากราคาไก่เป็นในประเทศเฉลี่ยงวด 1Q61 อ่อนตัวลงเหลือ 33.54 บาท/กก. ซึ่งกดดันให้ราคาผลิตภัณฑ์พลอยได้ของไก่ (by product) อาทิ โครงไก่ เครื่องในไก่และขนไก่ ได้รับผลกระทบไปด้วย ขณะที่ 2Q61 จะเริ่มกลับมาฟื้นตัว ได้ปัจจัยบวกจากการเข้าสู่ high season และปัจจัยแวดล้อมที่เข้ามาสนับสนุนการฟื้นตัวของราคาไก่ รวมถึงทิศทางค่าเงินบาท ที่มีโอกาสอ่อนลงในช่วงที่เหลือของปี
QH([email protected]) คาดกำไงวด 1Q61 เท่ากับ 756 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 16% yoy แต่ลดลง 20% qoq แรงหนุนหลักๆ มาจากยอดโอนฯ อสังหาแนวราบ และการควบคุมค่าใช้จ่ายขายบริหารที่ดีต่อเนื่อง รวมทั้งส่วนแบ่งกำไรบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น สำหรับงวด 2Q61 เป็นต้นไปคาดมีโมเมนตัมดีขึ้น ตามแผนเปิดโครงการแนวราบที่จะมีมากขึ้น และยอดโอนฯ คอนโดโครงการใหม่ Q สุขุมวิท ที่กำหนดสร้างเสร็จเดือน ก.ค. นี้ หนุนกำไรทั้งปีเติบโตได้ดี
PSH (FV@B28) คาดงวด 1Q61 อยู่ที่ 783 ล้านบาท (+14.9% yoy, -55% qoq) ขณะที่ในไตรมาส 2 เป็นต้นไป คาดจะเติบโตได้จากการโอนฯ คอนโดใหม่อีก 5 โครงการ และแผนเปิดโครงการแนวราบเพิ่ม ช่วยหนุนกำไรสูงขึ้น
หลังจากกลุ่มธ.พ. หลายแห่ง รายงานงบออกมาครบแล้ว จากนี้จะให้น้ำหนักกับการรายงานของกลุ่มธุรกิจจริง (real sector) โดยวานนี้
HMPRO(Switch: [email protected]) รายงานงบฯ งวด 1Q61 เติบโต 19.3% yoy อยู่ที่ 1.25 พันล้านบาท หนุนจากยอดขายสาขาเดิม (SSSG) และการขยายสาขาเพิ่มขึ้น ขณะที่แนวโน้มกำไรงวด 2Q61 คาดเติบโตได้สูงจากกำลังซื้อผู้บริโภคตามหัวเมืองใหญ่ที่ฟื้นตัวตามเศรษฐกิจและภาคการท่องเที่ยว และจากฐานต่ำในงวด 2Q60 ที่ผ่านมา (SSSG หดตัว 6.3%) รวมทั้งประสิทธิภาพทำกำไรที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามแผนการเพิ่มสัดส่วนสินค้า Private brands และผลจากการประหยัดต่อขนาด
ขณะที่หุ้นกลุ่ม Real sector ซึ่งนักวิเคราะห์ ASPS ทยอยทำ Earnings preview ตามลำดับ
MTLS (FV@B51) คาดกำไรสุทธิ 1Q61 new high เติบโตสูงถึง 7.7% qoq และ 49.2% yoy อยู่ที่ 800 ล้านบาท หนุนด้วยการเติบโตของรายได้ดอกเบี้ยรับสุทธิและรายได้ค่าธรรมเนียมฯ ส่วนคุณภาพสินทรัพย์ คาดสัดส่วน NPL ต่อสินเชื่อรวมเพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาที่ 1.36% ซึ่งเป็นปกติสอดคล้องกับการขยายตัวของธุรกิจ และยังเป็นระดับต่ำสุดในกลุ่มเช่าซื้อที่นักวิเคราะห์ ASPS ศึกษา นอกจากนี้บริษัทยังมีการตั้งสำรองหนี้ฯ ที่สูงสุดในกลุ่ม ถึง 252.1% น่าจะช่วยลดความกังวล TFRS 9 ไปได้ สำหรับแนวโน้มในอนาคตคาดกำไรสุทธิยังเติบโตในเชิงรุก จากธุรกิจหลักทั้งสินเชื่อทะเบียนรถจักรยานยนต์และรถยนต์ และการขยายสาขาไปทั่วประเทศ
CENTEL(FV@B56) คาดกำไรปกติ 1Q61 สูงสุดของปี โดยเติบโต 10% yoy อยู่ที่ 861 ล้านบาท ขับเคลื่อนจากธุรกิจโรงแรมสดใสทั้งในไทยและมัลดีฟท์ ส่วนอาหารได้อานิสงค์จากการขยายสาขาใหม่ ชดเชย SSSG ที่ติดลบเล็กน้อย
GFPT(FV@B17) คาดกำไรสุทธิงวด 1Q61 เท่ากับ 231 ล้านบาท ลดลงมากถึง 28.8% qoq และ 45.5% yoy เนื่องจากยังเป็นช่วง low season ของอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังได้รับผลกระทบจากราคาไก่เป็นในประเทศเฉลี่ยงวด 1Q61 อ่อนตัวลงเหลือ 33.54 บาท/กก. ซึ่งกดดันให้ราคาผลิตภัณฑ์พลอยได้ของไก่ (by product) อาทิ โครงไก่ เครื่องในไก่และขนไก่ ได้รับผลกระทบไปด้วย ขณะที่ 2Q61 จะเริ่มกลับมาฟื้นตัว ได้ปัจจัยบวกจากการเข้าสู่ high season และปัจจัยแวดล้อมที่เข้ามาสนับสนุนการฟื้นตัวของราคาไก่ รวมถึงทิศทางค่าเงินบาท ที่มีโอกาสอ่อนลงในช่วงที่เหลือของปี
QH([email protected]) คาดกำไงวด 1Q61 เท่ากับ 756 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 16% yoy แต่ลดลง 20% qoq แรงหนุนหลักๆ มาจากยอดโอนฯ อสังหาแนวราบ และการควบคุมค่าใช้จ่ายขายบริหารที่ดีต่อเนื่อง รวมทั้งส่วนแบ่งกำไรบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น สำหรับงวด 2Q61 เป็นต้นไปคาดมีโมเมนตัมดีขึ้น ตามแผนเปิดโครงการแนวราบที่จะมีมากขึ้น และยอดโอนฯ คอนโดโครงการใหม่ Q สุขุมวิท ที่กำหนดสร้างเสร็จเดือน ก.ค. นี้ หนุนกำไรทั้งปีเติบโตได้ดี
PSH (FV@B28) คาดงวด 1Q61 อยู่ที่ 783 ล้านบาท (+14.9% yoy, -55% qoq) ขณะที่ในไตรมาส 2 เป็นต้นไป คาดจะเติบโตได้จากการโอนฯ คอนโดใหม่อีก 5 โครงการ และแผนเปิดโครงการแนวราบเพิ่ม ช่วยหนุนกำไรสูงขึ้น
Fund Flow ยังไหลออกจากหุ้นและตราสารหนี้ไทย หนุน Bond Yield ขึ้นต่อ
ต่างชาติขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าสูงถึง 863 ล้านเหรียญ และยังเป็นการขายสุทธิทุกประเทศ นำโดยตลาดหุ้นไต้หวันถูกขายสุทธิ 262 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) ตามมาด้วยเกาหลีใต้ 466 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), อินโดนีเซีย 47 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), ฟิลิปปินส์ 3 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 4) และไทยที่ต่างชาติยังขายสุทธิ 85 ล้านเหรียญ หรือ 2.67 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) ต่างกับสถาบันในประเทศที่สลับมาซื้อสุทธิ 617 ล้านบาท
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย ต่างชาติขายสุทธิอีก 5.75 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) หนุนให้ Bond Yield 10 ปี ของไทยขยับขึ้นมาอยู่ 2.583% (สูงสุดในรอบ 10 เดือน) แต่ยังน้อยกว่า Bond Yield 10 ปี ของสหรัฐที่ 2.99% (ขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 4 ปี) อย่างไรก็ตามตามการจัดอันดับเครดิต เรตติ้งของ Moody’s พบว่า ไทยมีเรตติ้ง Baa1 (Lower Medium Grade) ซึ่งน้อยกว่าสหรัฐ Aaa (Prime Grade) แสดงให้เห็นว่าตราสารหนี้ไทยมีความเสี่ยงกว่าสหรัฐ ควรที่จะได้รับผลตอบแทนที่มากกว่า และยังสอดคล้องกับในอดีต Bond Yield 10 ปี ของไทยอยู่สูงกว่าสหรัฐตลอด (ดังภาพทางด้านล่าง) แต่ล่าสุด Bond Yield 10 ปี ของสหรัฐปรับตัวขึ้นมาสูงกว่าไทยแล้ว ทำให้เชื่อว่า Fund Flow ยังมีโอกาสไหลออกจากตราสารหนี้ไทย และมีโอกาสสูงที่ Bond Yield 10 ปี ของไทยจะกลับขึ้นไปยืนเหนือสหรัฐอีกครั้ง โดยหุ้นที่ได้ประโยชน์จากประเด็นดังกล่าว คือ หุ้นกลุ่มประกัน อย่าง BLA([email protected])
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
โยธิน ภูคงนิล ผู้ช่วยนักวิเคราะห์เชิงปริมาณ
วรรณพฤกษ์ โกมลวิทยาธร ผู้ช่วยนักเศรษฐศาสตร์
OO7966
ต่างชาติขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าสูงถึง 863 ล้านเหรียญ และยังเป็นการขายสุทธิทุกประเทศ นำโดยตลาดหุ้นไต้หวันถูกขายสุทธิ 262 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) ตามมาด้วยเกาหลีใต้ 466 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), อินโดนีเซีย 47 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), ฟิลิปปินส์ 3 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 4) และไทยที่ต่างชาติยังขายสุทธิ 85 ล้านเหรียญ หรือ 2.67 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) ต่างกับสถาบันในประเทศที่สลับมาซื้อสุทธิ 617 ล้านบาท
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย ต่างชาติขายสุทธิอีก 5.75 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3) หนุนให้ Bond Yield 10 ปี ของไทยขยับขึ้นมาอยู่ 2.583% (สูงสุดในรอบ 10 เดือน) แต่ยังน้อยกว่า Bond Yield 10 ปี ของสหรัฐที่ 2.99% (ขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 4 ปี) อย่างไรก็ตามตามการจัดอันดับเครดิต เรตติ้งของ Moody’s พบว่า ไทยมีเรตติ้ง Baa1 (Lower Medium Grade) ซึ่งน้อยกว่าสหรัฐ Aaa (Prime Grade) แสดงให้เห็นว่าตราสารหนี้ไทยมีความเสี่ยงกว่าสหรัฐ ควรที่จะได้รับผลตอบแทนที่มากกว่า และยังสอดคล้องกับในอดีต Bond Yield 10 ปี ของไทยอยู่สูงกว่าสหรัฐตลอด (ดังภาพทางด้านล่าง) แต่ล่าสุด Bond Yield 10 ปี ของสหรัฐปรับตัวขึ้นมาสูงกว่าไทยแล้ว ทำให้เชื่อว่า Fund Flow ยังมีโอกาสไหลออกจากตราสารหนี้ไทย และมีโอกาสสูงที่ Bond Yield 10 ปี ของไทยจะกลับขึ้นไปยืนเหนือสหรัฐอีกครั้ง โดยหุ้นที่ได้ประโยชน์จากประเด็นดังกล่าว คือ หุ้นกลุ่มประกัน อย่าง BLA([email protected])
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
โยธิน ภูคงนิล ผู้ช่วยนักวิเคราะห์เชิงปริมาณ
วรรณพฤกษ์ โกมลวิทยาธร ผู้ช่วยนักเศรษฐศาสตร์
OO7966