- Details
- Category: กลต.
- Published: Monday, 06 February 2023 00:00
- Hits: 1864
ข้อมูลสถิติสำคัญปี 2565 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565)
โดย สำนักงาน ก.ล.ต.
1. การอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน
หน่วย: บริษัท
ประเภทการเสนอขาย |
2564 |
2565 |
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – หุ้น |
40 |
47 |
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – วอร์แรนต์ |
- |
- |
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – หุ้น |
2 |
2 |
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – วอร์แรนต์ |
- |
- |
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อบุคคลในวงจำกัด (PP) – หุ้น |
22 |
25 |
รวม |
64 |
74 |
หมายเหตุ : * เป็นจำนวนบริษัทที่ได้รับอนุญาต IPO (อาจจะมีบางบริษัทยังไม่ขาย)
2. มูลค่าการเสนอขายตราสารทุน จำแนกตามลักษณะการเสนอขาย
หน่วย: ล้านบาท
ลักษณะการเสนอขาย |
2564 |
2565 |
เสนอขายในประเทศ |
|
|
ขายประชาชนครั้งแรก (IPO) |
137,274 |
127,836 |
ขายครั้งต่อไป* |
165,405 |
128,118 |
เสนอขายต่างประเทศ |
- |
- |
รวม |
302,679 |
255,954 |
หมายเหตุ : *ที่มาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ไม่รวม Stock Dividend)
3. มูลค่าการเสนอขายตราสารหนี้
หน่วย: ล้านบาท
ประเภทหลักทรัพย์ |
2564 |
2565 |
เสนอขายในประเทศ* |
2,108,741 |
2,463,807 |
- ตราสารหนี้ระยะสั้น |
958,425 |
1,060,833 |
- ตราสารหนี้ระยะยาว |
1,150,316 |
1,402,974 |
เสนอขายต่างประเทศ |
160,210 |
106,015 |
รวม |
2,268,951 |
2,569,822 |
หมายเหตุ : *ผู้ออกและเสนอขายทั้งที่เป็นไทยและต่างประเทศ
ตราสารหนี้กลุ่มยั่งยืน
หน่วย: ล้านบาท
ประเภทหลักทรัพย์ |
2564 |
2565 |
ตราสารหนี้เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green Bond) |
28,706 |
41,219 |
ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (Social Bond)** |
4,000 |
11,400 |
ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond)** |
121,074 |
137,935 |
ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond) |
21,000 |
31,000 |
รวม |
174,780 |
221,554 |
หมายเหตุ : *สำหรับรุ่นที่ออกเป็นสกุลเงินต่างประเทศได้ปรับมูลค่าเทียบเท่าเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ในกรุงเทพมหานครของธนาคารแห่งประเทศไทย (อัตรากลาง) ณ วันออกตราสาร (issue date)
**รวมพันธบัตรที่ออกโดยกระทรวงการคลัง การเคหะแห่งชาติ และธนาคารออมสิน ซึ่งไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่ผู้ออกระดมทุนเพื่อเอาเงินไปใช้ในโครงการหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ/หรือการพัฒนาสังคม
ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่มีข้อตกลงและเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ย และ/หรือภาระผูกพันของผู้ออกในการดำเนินการด้านความยั่งยืน โดยอ้างอิงกับความสำเร็จหรือผลการดำเนินงานตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน
4. มูลค่าการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ (DW)
หน่วย: รุ่น
|
2564 |
2565 |
รวม |
5,237 |
5,694 |
5. ภาพรวมธุรกิจจัดการลงทุน
ประเภท |
ณ สิ้นปี 2564 |
ข้อมูลล่าสุด* |
กองทุนรวม |
1,745 4,650,343 |
ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 2565 1,903 4,159,268 |
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (กอง 1-4)** |
47 142,053 |
ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2565 45 142,196 |
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน |
9 395,334 |
ณ สิ้นเดือน ก.ย. 2565 9 386,719 |
กองทุนส่วนบุคคล |
79,181 2,159,342 |
ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 2565 86,380 2,083,780 |
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ |
368 1,338,083 |
ณ สิ้นเดือน ก.ย. 2565 364 1,348,533 |
หมายเหตุ : * ข้อมูลล่าสุดตามกำหนดส่งข้อมูลของกองทุนแต่ละประเภท ** ข้อมูล ณ มิ.ย. 2565 เนื่องจากเป็นข้อมูลรายครึ่งปี
6. การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ
การทำคำเสนอซื้อ |
2564 |
2565 |
เพื่อวัตถุประสงค์ในการครอบงำกิจการ มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท) มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) |
856,931 71,303 |
45,145 3,816 12 |
เพื่อออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท) มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) |
17,146 16,974 2 |
376,551 343,341 6 |
รวม มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท) มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) |
874,076 88,250 15 |
421,696 18 |
7. การผ่อนผันเกี่ยวกับการทำคำเสนอซื้อ
หน่วย: กรณี
ประเภทการผ่อนผัน |
2564 |
2565 |
การผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อ |
12 |
6 |
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจบริหาร เป็นการฟื้นฟูกิจการ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (white wash) ผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหุ้นบางส่วน ไม่มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการครอบงำกิจการ จำเป็นและสมควร |
3 - 3 - 2 2 |
- - 2 - - 4 |
การผ่อนผันขั้นตอนหรือวิธีการในการทำคำเสนอซื้อ |
2 |
- |
8. ภาพรวมธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
ผู้ประกอบธุรกิจและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล
|
จำนวน (ราย)* |
ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Exchange) |
9 |
นายหน้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Broker) |
9 |
ผู้ค้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Dealer) |
2 |
ที่ปรึกษาสินทรัพย์ดิจิทัล (Advisory Service) |
2 |
ผู้จัดการเงินทุนสินทรัพย์ดิจิทัล (Fund Manager) |
4 |
ผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล (Custodial Wallet Provider) |
- |
ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal) |
7 |
หมายเหตุ : * รวมผู้ประกอบธุรกิจและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่ได้รับใบอนุญาตแล้วแต่ยังไม่เริ่มประกอบธุรกิจ และบางรายได้รับใบอนุญาตมากกว่า 1 ประเภท ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. www.sec.or.th หัวข้อ “สินทรัพย์ดิจิทัล” หรือ คลิก www.sec.or.th/DigitalAsset
การเสนอขายโทเคนดิจิทัล
ประเภทการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (ICO) |
2564 (บริษัท) |
2565 (บริษัท) |
โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน |
1 |
- |
โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนและเพื่อการใช้ประโยชน์แบบไม่พร้อมใช้ |
- |
1 |
รวม |
1 |
1 |
มูลค่าการเสนอขายโทเคนดิจิทัล จำแนกตามลักษณะการเสนอขาย |
2564 (ล้านบาท) |
2565 (ล้านบาท) |
เสนอขายประชาชนครั้งแรกในประเทศ |
2,400 |
265 |
เสนอขายต่างประเทศ |
0 |
0 |
รวม |
2,400 |
265 |
9. ภาพรวมการระดมทุนด้วยวิธีคราวด์ฟันดิง
|
2564 |
2565 |
|
ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (Funding Portal) |
8 บริษัท |
8 บริษัท |
|
การระดมทุนด้วย วิธีคราวด์ฟันดิง |
หุ้นคราวด์ฟันดิง |
จำนวน 6 บริษัท มูลค่า 68.10 ล้านบาท |
จำนวน 4 บริษัท มูลค่า 52.70 ล้านบาท |
หุ้นกู้คราวด์ฟันดิง |
จำนวน 134 บริษัท มูลค่า 1,322.90 ล้านบาท |
จำนวน 327 บริษัท มูลค่า 4,274.30 ล้านบาท |
10. ข้อมูลการรับเรื่องร้องเรียน
ประเภทเรื่องที่ร้องเรียน |
จำนวนเรื่องที่ได้รับการร้องเรียน ในปี 2565 (เรื่อง) |
1. การให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล |
326 |
2. การได้รับการชักชวนให้ลงทุนโดยอ้างผลตอบแทนในอัตราที่สูง |
175 |
3. การปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหาร/กรรมการบริษัทจดทะเบียน |
70 |
4. ระบบงานของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ |
43 |
5. ระบบงานของศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล |
42 |
6. อื่นๆ |
593 |
รวมทั้งหมด |
1,249 |
Investor Alert : การรายงานข้อมูลรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคลที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. (Investor Alert) เพื่อเตือนประชาชนให้ระมัดระวังการลงทุน
ประเภทรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคล ที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. |
จำนวน (ราย) |
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า |
268 |
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล |
44 |
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า |
1 |
ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน |
1 |
รวมทั้งหมด |
314 |
หมายเหตุ : สามารถตรวจสอบข้อมูล Investor Alert ได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. https://market.sec.or.th/public/idisc/th/InvestorAlert
11. การบังคับใช้กฎหมาย
การดำเนินการทางบริหาร
หน่วย: คน
ประเภทผู้ได้รับความเห็นชอบ |
เปิดเผยพฤติกรรม |
สั่งพัก |
เพิกถอนความเห็นชอบ |
|||
2564 |
2565 |
2564 |
2565 |
2564 |
2565 |
|
ผู้แนะนำการลงทุน |
- |
- |
11 |
4 |
3 |
10 |
ผู้จัดการกองทุน |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
กรรมการในคณะกรรมการลงทุนของกองทุน |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
ผู้บริหาร* |
- |
- |
2 |
- |
1 |
- |
ผู้สอบบัญชี |
- |
- |
- |
1 |
- |
- |
ที่ปรึกษาทางการเงิน |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานที่ปรึกษาทางการเงิน |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
ผู้ประเมินหลัก |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
รวม |
0 |
0 |
13 |
5 |
4 |
10 |
หมายเหตุ : * ผู้บริหาร หมายความรวมถึงผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ ผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน บุคคลผู้มีอำนาจในการจัดการ และผู้จัดการสาขา
การดำเนินคดีอาญา
|
เปรียบเทียบปรับ (เฉพาะกรณีที่มีการชำระค่าปรับ) |
|
|
2564 |
2565 |
จำนวนข้อหา |
131 |
418 |
จำนวนราย |
58 |
209 |
จำนวนเงินค่าปรับ (บาท) |
45,671,350 |
126,557,400 |
|
กล่าวโทษ |
|
|
2564 |
2565 |
จำนวนคดี |
10 |
31 |
จำนวนผู้ถูกกล่าวโทษ |
49 |
91 |
หมายเหตุ : บางเรื่องที่สำนักงานกล่าวโทษจะนับมากว่า 1 คดี เนื่องจากพฤติกรรมในเรื่องนั้นเป็นการกระทำความผิดที่ต่างประเภทกัน ซึ่งสามารถแยกดำเนินคดีได้
การดำเนินคดีทางแพ่ง
|
ตกลงทำบันทึกการยินยอมปฏิบัติตามมาตรการ ลงโทษทางแพ่งที่ ค.ม.พ. กำหนด |
|
|
2564 |
2565 |
จำนวนคดี |
8 |
8 |
จำนวนผู้กระทำผิด |
37 |
42 |
ค่าปรับทางแพ่ง* (บาท) |
178,713,420.36 |
74,037,920.60 |
ชดใช้เงินเท่าผลประโยชน์ที่ได้รับ* (บาท) |
31,807,149.07 |
22,148,612.01 |
ชดใช้เงินค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (บาท) |
1,643,024.07 |
1,949,899.88 |
หมายเหตุ : *เงินค่าปรับทางแพ่งและเงินค่าชดใช้คืนผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกระทำผิด เป็นรายได้แผ่นดินที่นำส่งกระทรวงการคลังแล้ว
|
ไม่ยินยอมปฏิบัติตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง ที่ ค.ม.พ. กำหนด |
|
|
2564 |
2565 |
ส่งฟ้องศาลแพ่ง (ราย) |
5 |
2 |
จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่ง* (บาท) |
226,891,156 |
12,080,646 |
หมายเหตุ : * จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่งตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง ประกอบด้วย ค่าปรับ / เรียกคืนผลประโยชน์ / ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ
A2116