- Details
- Category: แบงก์พาณิชย์
- Published: Tuesday, 01 August 2017 15:22
- Hits: 1702
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน
ภัทร รักษาระดับการเติบโต ทั้งสินเชื่อและสินทรัพย์ของลูก ค้าภายใต้การบริหาร พร้อมบริการที่หลากหลาย 'กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิ
นภัทร-KKP' มองเศรษฐกิจไทยในครึ่งปีหลังมี ทิศทางปรับตัวดีขึ้นบ้าง ยังคงให้น้ำหนักกับปัจจัยที่มีผ ลกระทบหลัก คือ รายได้ภาคการเกษตร การลงทุนภาคเอกชน และตัวเลขการส่งออก ในส่วนของผลการดำเนินงานของกลุ่ มธุรกิจ ช่วงครึ่งปีแรกเติบโตได้ตามแผน ส่วนครึ่งปีหลังเชื่อว่าจะรักษา ระดับการเติบโตได้ตามเป้า ผ่านพอร์ตสินเชื่อรายย่อย และสินเชื่อบรรษัท พร้อมทั้งการเพิ่มยอดสินทรัพย์ข องลูกค้าภายใต้การบริหาร (Asset under Advice)ของธุรกิจลูกค้าบุคคลที่มี ยอดเกิน 4 แสนล้านบาทเป็นครั้งแรก รวมถึงพัฒนาบริการที่หลากหลายใน ทุกมิติของ KKP นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน
ภัทร (Mr. Aphinant Klewpatinond, Chief Executive Officer, Kiatnakin Phatra Financial Group) เปิดเผยว่า “ผลการดำเนินงา นของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรติน าคินภัทร ประกอบไปด้วย ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำกัด (มหาชน) (บล.ภัทร) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุ น ภัทร จำกัด (บลจ.ภัทร) ในครึ่งปีแรกที่ผ่านมา สามารถดำเนินงานได้ตามแผนธุรกิจ ที่วางไว้เริ่มต้นจากธุรกิจสินเชื่อ Credit House) ที่สินเชื่อรวมของธนาคารขยายตัว ได้ดี (ครึ่งปีแรกโต 4.1% จากเป้าทั้งปีที่ตั้งไว้ 5%)เป็นผลจากการเติบโตของสินเชื่อบ รรษัทที่เกิดจากการผสานความร่วม มือของสายสินเชื่อบรรษัทกับสายง านวานิชธนกิจของ บล.ภัทร ตลอดจน การทำงานอย่างเข้มข้นของเครือข่ ายสาขาและสายงานช่องทางการตลาดแ ละพัฒนาฐานลูกค้า เพื่อรุกตลาดสินเชื่อรายย่อย ผ่านผลิตภัณฑ์สินเชื่อบุคคล สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย และสินเชื่อ KK SME รถคูณ 3 ทั้งสามผลิตภัณฑ์นี้มีการขยายตั วในอัตราที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ทางด้านธุรกิจตลาดทุน โดยเฉพาะในส่วนของPrivate Bankภายใต้ธุรกิจไพรเวทเวลธ์สำหรั บผู้ลงทุนไทยมีพัฒนาการอย่างต่ อเนื่อง ปัจจุบันมีสินทรัพย์ภายใต้ การให้คำแนะนำ (Asset under Advice: AuA) อยู่ที่ 403,000 ล้านบาท (ไม่รวมเงินฝาก) โดยมียอดเงินลงทุนใหม่กว่า 22,000 ล้านบาท และล่าสุด บล.ภัทร ได้เปิดบริการใหม่ คือGlobal Investment Service (GIS) ซึ่งเป็นการให้บริการลงทุนต่างป ระเทศสำหรับกลุ่มลูกค้าที่มีควา มมั่งคั่งสูง เพื่อเพิ่มโอกาสการลงทุนด้วยผลิ ตภัณฑ์ที่หลากหลายไร้ข้อจำกัดด้านพรมแดน ซึ่งการบริการดังกล่าวนี้เที ยบชั้นไพรเวทแบงค์ระดับโลกและในส่วนของ บลจ.ภัทร มีการเติบโตที่ดีทั้งในส่วนของก องทุนรวม และกองทุนส่วนบุคคล โดยมีสินทรัพย์ภายใต้การจัดการข องกองทุนกว่า 56,000 ล้านบาท มีกองทุนภายใต้การบริหาร 30 กองทุน (Mutual Fund 27, Property Fund3)ส่วนกองทุนส่วนบุคคล มีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิภายใต้กา รบริหารกว่า 15,600ล้านบาท เติบโตกว่า 50% เมื่อเทียบกับปลายปี 2559 นอกจากนี้ ในส่วนของInvestment Bankingบล.ภัทร ได้มีโอกาสร่วมทำงานในดีลที่ สำคัญๆ อาทิ การเสนอขายหุ้น IPO ของ บมจ. โกลบอลกรีนเคมิคอลและ บมจ. บี กริม เพาเวอร์ ทั้งนี้ ในครึ่งปีหลังยังมีที่อยู่ในแผน งานอีก นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันของธนาคารและตลา
ดทุนภายใต้กลุ่มธุรกิจฯ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่ วนของสายสินเชื่อบรรษั ทและสายตลาดการเงินของธนาคาร รวมถึงสายงานวานิชธนกิ จและตลาดทุนของภัทร มีการนำเสนอบริการและผลิตภัณฑ์ ร่วมกันจนสามารถสร้างรายได้ให้ กับกลุ่มธุรกิจฯ เป็นอย่างดี” ทั้งนี้ ฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
ของธนาคารให้มุมมองต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไ ทยในครึ่งปีหลังว่าจะมีทิ ศทางปรับตัวดีขึ้นบ้าง แต่ยังมีปัจจัยที่ต้องจับตามอง 3 ประการได้แก่ รายได้เกษตรกรเริ่มชะลอตัวลงจาก ราคาสินค้าเกษตรที่เริ่มปรับลดล ง โดยเฉพาะยางและปาล์มน้ำมัน อาจทำให้การบริโภคในระยะต่อไปชะ ลอตัวลง ถัดมาคืออัตร าการใช้กำลังการผลิตยังอยู่ในระ ดับต่ำ ทำให้การลงทุนภาคเอกชนไม่น่าจะป รับขึ้นได้เร็วนัก และสุดท้ายคือภาคการส่งออกอาจชะ ลอตัวลงในระยะต่อไปจากราคาสินค้ าที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและสินค้ าเกษตรที่ปรับลดลงตามแนวโน้มราค าน้ำมันโลก และการแข็งค่าของเงินบาทที่จะกร ะทบต่อรายได้ผู้ส่งออกในรูปเงิน บาท นายชวลิต จินดาวณิค ประธานสายการเงินและงบประมาณ ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน)
(Mr. Chavalit Chindavanig, Head of Finance and Budgeting, Kiatnakin Bank Plc.) เปิดเผยถึงผลการดำเนินงานงวดครึ่
งปีแรกปี 2560 เปรียบเทียบกับงวดครึ่งปีแรกปี 2559 ว่า “กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิ นภัทร มีกำไรสุทธิรวม เท่ากับ 2,709 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 12.7%จากงวดเดียวกันของปีก่อน ส่วนของรายได้แบ่งเป็นรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 5,194ล้านบาทเพิ่มขึ้น6.6% โดยหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของส่ว นต่างอัตราดอกเบี้ยจาก 4.7% เป็น5.3% รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุท ธิ 1,859 ล้านบาทเพิ่มขึ้น3% โดยหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของราย ได้จากที่ปรึกษาทางการเงินและรา ยได้จากการจำหน่ายหลักทรัพย์ รายได้รวมจากการดำเนินงานคือ 7,758 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 2% ในส่วนของสินเชื่อรวมนั้น มีมูลค่า183,704ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.1% จากสิ้นปี 2559 มาจากสินเชื่อรายย่อย (สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย, Micro SMEs, สินเชื่อบุคคล) สินเชื่อบรรษัท และสินเชื่อ Lombard ในด้านคุณภาพของสินเชื่อ อัตราส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อ สินเชื่อรวม ณ สิ้นไตรมาส 2/2560 อยู่ที่ 5.8% เพิ่มขึ้นจาก 5.6% ณ สิ้นปี 2559 มาจากการปรับเพิ่มขึ้นของสินเชื่ อเช่าซื้อรถยนต์มือสอง และสินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพ ย์ ส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่
ยง (BIS Ratio) คำนวณตามเกณฑ์ Basel III ซึ่งรวมกำไรถึงสิ้นปี 2559 อยู่ที่17.54% (เป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 เท่ากับ 14.20%) หากรวมกำไรถึงสิ้นไตรมาส 2/2560 อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรั พย์เสี่ยงจะเท่ากับ18.64% (เงินกองทุนชั้นที่ 1 เท่ากับ 15.30%) ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาส 2/2560 มียอดสำรองค่าเผื่อหนี้สงสั ยจะสูญและค่าเผื่อการปรับมูลค่ าจากการปรับโครงสร้างหนี้มี จำนวน 11,089 ล้านบาท โดยมียอดสำรองทั่วไปทั้งสิ้น 4,500 ล้านบาท อัตราส่วนสำรองทั้งสิ้นต่อสำรอง ตามเกณฑ์เท่ากับร้อยละ 185.1 เปรียบเทียบกับร้อยละ169.8 ณ สิ้นไตรมาส 2/2559 และมีอัตราส่วนสำรองต่อสินเชื่อ ด้อยคุณภาพเท่ากับร้อยละ 104.6 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 95.7 ณ สิ้นไตรมาส 2/2559” ตัวเลขที่สำคัญทางการเงิน
อัตราส่วนต่าง
(ร้อยละ)
ไตรมาส2//2559 ครึ่งแรกปี2559
ปี2559
ไตรมาส1/2560 ไตรมาส2/2560 ครึ่งแรกปี2560 อัตราการเติบโตของเงินให้สินเชื่ อ (0.4) (1.6) (0.8) 1.3 2.8 4.1 สินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อร
วม (ไม่รวมรายการระหว่างธนาคาร)
6.1 6.1 5.6 5.6 5.8 5.8 อัตราส่วนการตั้งสำรองต่อสินเชื่ อด้อยคุณภาพ 95.7 95.7 110.1 110.1 104.6 104.6 อัตราส่วนสำรองต่อสำรองตามเกณฑ์ 169.8 169.8 187.8 188.1 185.1 185.1