- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Tuesday, 21 November 2017 19:03
- Hits: 1656
บล.เอเซียพลัส : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
กลยุทธ์การลงทุน
ตลาดน่าจะปรับฐาน รับรู้กำไรงวด 3Q60 ที่ต่ำกว่าคาดเล็กน้อย หลังจากให้น้ำหนักกับหุ้นที่มีผลประกอบการเด่นในงวด 4Q60 หนุนจากเศรษฐกิจที่มีสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่อง และเตรียมปรับเพิ่ม GDP Growth ปี 2560 และ 2561 ขึ้น กลยุทธ์การลงทุนเน้นหุ้น Domestic Play โดย Top Picks คือ COM7 (FV@B21) และ SCB(FV@B174) ซึ่งเป็นหุ้น Laggard ในกลุ่มธนาคารพาณิชย์
กลยุทธ์การลงทุน
ตลาดน่าจะปรับฐาน รับรู้กำไรงวด 3Q60 ที่ต่ำกว่าคาดเล็กน้อย หลังจากให้น้ำหนักกับหุ้นที่มีผลประกอบการเด่นในงวด 4Q60 หนุนจากเศรษฐกิจที่มีสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่อง และเตรียมปรับเพิ่ม GDP Growth ปี 2560 และ 2561 ขึ้น กลยุทธ์การลงทุนเน้นหุ้น Domestic Play โดย Top Picks คือ COM7 (FV@B21) และ SCB(FV@B174) ซึ่งเป็นหุ้น Laggard ในกลุ่มธนาคารพาณิชย์
ย้อนรอยตลาดหุ้นไทย … กลุ่มค้าปลีก ประคอง SET Index ปรับขึ้นต่อเนื่อง
วานนี้ตลาดหุ้นไทยยังคงแกว่งตัวในแดนบวก และปิดตลาดที่ 1714.38 จุด เพิ่มขึ้น 5 จุด หรือ 0.29% มูลค่าการซื้อขายเบาบาง 4.92 หมื่นล้านบาท แม้ภาพรวมแล้วหุ้นในหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรมยังปรับตัวกันคนละทิศทาง แต่ตลาดฯ ยังได้ Sentiment เชิงบวกหลังสภาพัฒน์รายงานตัวเลข GDP Growth ไตรมาส 3Q60 ออกมา 4.3% ดีกว่าที่ฝ่ายวิจัยคาดการณ์ไว้ที่ 3.6% ซึ่งทำให้เตรียมปรับเพิ่ม GDP Growth ปีนี้ขึ้นจากเดิม 3.5% และ ปีหน้าที่ประเมินไว้ 4% ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จะขับเคลื่อนตลาดฯ ได้ รวมถึงมาตรกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ ที่จะหนุนหุ้นกลุ่มบริโภค ซึ่งวานนี้กลุ่มค้าปลีกปรับตัวขึ้นโดดเด่นแทบทั้งกลุ่ม นำโดย CPALL ปรับขึ้นต่อเนื่องอีก 3.04% BIG เพิ่มขึ้น 2.38% BJC เพิ่มขึ้น 1.32% COM7 เพิ่มขึ้น 2.34% และ BEAUTY เพิ่มขึ้น 2.54% ยกเว้น ROBINS ปรับตัวลดลง 0.33% ซึ่ง ASPS เพิ่งปรับลดคำแนะนำเป็น switch ไปยัง COM7 เพราะราคาหุ้น ROBINS มี upside จำกัด
ส่วนกลุ่มอื่นๆ ปรับตัวขึ้นเล็กน้อยไม่โดดเด่นมากนัก จะมีเพียงหุ้นรายตัวที่เพิ่มขึ้นคือ กลุ่มนิคมฯ อย่าง ROJNA ปรับตัวขึ้นแรงกว่า 25% ปิดที่ 7.50 บาท นับเป็นการทำ New high ในรอบกว่า 2 ปี หุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า อย่าง SUPER เพิ่มขึ้น 4.17% อสังหาฯ-พัฒนาที่อยู่อาศัย QH เพิ่มขึ้น 4.14% และ ICHI เพิ่มขึ้นแรงกว่า 8.09% รับงบ 3Q60 มีกำไรสุทธิ 69.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 117% yoy แต่เนื่องจากราคาหุ้นในปัจจุบันไม่มี upside แล้ว จึงแนะนำขาย และให้มาลงทุนใน OISHI แทน ซึ่งมีแนวโน้มผลกำไรเด่นงวด 4Q60 ทั้งปี 2560 จะเติบโต 63.7% yoy ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการรับรู้ ต้นทุนน้ำตาลที่ลดลง (และมีการปรับขึ้นราคาขาย ชดเชยภาษีสรรพาสามิตที่เพิ่มขึ้นไปแล้ว) ทำให้ Fair value ปี 2561 อยู่ที่ 193.40 บาท มี upside กว่า 32.47%
ส่วนกลุ่มที่ปรับลดลงคือ กลุ่ม ICT ลดลงแทบทั้งกลุ่ม โดยผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือ ADVANC และ DTAC ลดลง 1.64% และ 1.09% ส่วน INTUCH และ THCOM ลดลง 0.45% และ 1.61% ส่วนหุ้นรายตัวอื่นๆ ที่ปรับลดลงคือ หุ้นโรงพยาบาลอย่าง RJH ลดลง 5.45% กลุ่มเหล็ก TSTE ลดลง 3.95% และวัสดุก่อสร้าง SKN ลดลง 3.85%
แนวโน้มตลาดวันนี้ คาดดัชนีมีโอกาสขึ้น แต่ upside ยังจำกัดที่แนวต้านเดิม 1720-1730 จุด เช่นเดิม
วานนี้ตลาดหุ้นไทยยังคงแกว่งตัวในแดนบวก และปิดตลาดที่ 1714.38 จุด เพิ่มขึ้น 5 จุด หรือ 0.29% มูลค่าการซื้อขายเบาบาง 4.92 หมื่นล้านบาท แม้ภาพรวมแล้วหุ้นในหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรมยังปรับตัวกันคนละทิศทาง แต่ตลาดฯ ยังได้ Sentiment เชิงบวกหลังสภาพัฒน์รายงานตัวเลข GDP Growth ไตรมาส 3Q60 ออกมา 4.3% ดีกว่าที่ฝ่ายวิจัยคาดการณ์ไว้ที่ 3.6% ซึ่งทำให้เตรียมปรับเพิ่ม GDP Growth ปีนี้ขึ้นจากเดิม 3.5% และ ปีหน้าที่ประเมินไว้ 4% ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จะขับเคลื่อนตลาดฯ ได้ รวมถึงมาตรกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ ที่จะหนุนหุ้นกลุ่มบริโภค ซึ่งวานนี้กลุ่มค้าปลีกปรับตัวขึ้นโดดเด่นแทบทั้งกลุ่ม นำโดย CPALL ปรับขึ้นต่อเนื่องอีก 3.04% BIG เพิ่มขึ้น 2.38% BJC เพิ่มขึ้น 1.32% COM7 เพิ่มขึ้น 2.34% และ BEAUTY เพิ่มขึ้น 2.54% ยกเว้น ROBINS ปรับตัวลดลง 0.33% ซึ่ง ASPS เพิ่งปรับลดคำแนะนำเป็น switch ไปยัง COM7 เพราะราคาหุ้น ROBINS มี upside จำกัด
ส่วนกลุ่มอื่นๆ ปรับตัวขึ้นเล็กน้อยไม่โดดเด่นมากนัก จะมีเพียงหุ้นรายตัวที่เพิ่มขึ้นคือ กลุ่มนิคมฯ อย่าง ROJNA ปรับตัวขึ้นแรงกว่า 25% ปิดที่ 7.50 บาท นับเป็นการทำ New high ในรอบกว่า 2 ปี หุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า อย่าง SUPER เพิ่มขึ้น 4.17% อสังหาฯ-พัฒนาที่อยู่อาศัย QH เพิ่มขึ้น 4.14% และ ICHI เพิ่มขึ้นแรงกว่า 8.09% รับงบ 3Q60 มีกำไรสุทธิ 69.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 117% yoy แต่เนื่องจากราคาหุ้นในปัจจุบันไม่มี upside แล้ว จึงแนะนำขาย และให้มาลงทุนใน OISHI แทน ซึ่งมีแนวโน้มผลกำไรเด่นงวด 4Q60 ทั้งปี 2560 จะเติบโต 63.7% yoy ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการรับรู้ ต้นทุนน้ำตาลที่ลดลง (และมีการปรับขึ้นราคาขาย ชดเชยภาษีสรรพาสามิตที่เพิ่มขึ้นไปแล้ว) ทำให้ Fair value ปี 2561 อยู่ที่ 193.40 บาท มี upside กว่า 32.47%
ส่วนกลุ่มที่ปรับลดลงคือ กลุ่ม ICT ลดลงแทบทั้งกลุ่ม โดยผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือ ADVANC และ DTAC ลดลง 1.64% และ 1.09% ส่วน INTUCH และ THCOM ลดลง 0.45% และ 1.61% ส่วนหุ้นรายตัวอื่นๆ ที่ปรับลดลงคือ หุ้นโรงพยาบาลอย่าง RJH ลดลง 5.45% กลุ่มเหล็ก TSTE ลดลง 3.95% และวัสดุก่อสร้าง SKN ลดลง 3.85%
แนวโน้มตลาดวันนี้ คาดดัชนีมีโอกาสขึ้น แต่ upside ยังจำกัดที่แนวต้านเดิม 1720-1730 จุด เช่นเดิม
GDP Growth งวด 4Q60 มีโอกาสแตะ 4%...ภาคส่งออกและการบริโภค
เศรษฐกิจไทยยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง และน่าจะชัดเจนมากขึ้นในงวด 4Q60 และปี 2561 ล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงาน GDP Growth งวด 3Q60 ขยายตัว 4.3%yoy สูงสุดในรอบ 18 ไตรมาส เทียบกับงวด 2Q60 ที่เติบโต 3.7%yoy และดีกว่าที่ ASPS คาดที่ 3.6%yoy เป็นผลจากฟันเฟืองเศรษฐกิจทุกตัวทำงานพร้อม ๆ กัน โดยเฉพาะการส่งออกที่ฟื้นตัวต่อเนื่องนับจากต้นปี 2560 เป็นตามมา ตามเศรษฐกิจคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัว โดยงวดนี้ส่งออกเพิ่ม 12%yoy (ดีกว่าASPSคาดที่ 7%), การใช้จ่ายภาครัฐ(G) ขยายตัว 2.8%yoy (ดีกว่าคาดเล็กน้อยที่ 2.7%yoy) เนื่องจากเร่งเบิกจ่ายในไตรมาสสุดท้ายของปีงบประมาณ, การบริโภคครัวเรือนขยายตัว 3.1%yoy(ดีกว่าคาดที่ 2%), การลงทุนเอกชนยังขยายตัวต่อ 2.9%yoy (ดีกว่าที่คาดที่ 2.1%) ยกเว้นการลงทุนภาครัฐที่หดตัว 2.6%yoy(ต่ำกว่าที่คาด 3%) โดยรวมทำให้ GDP Growth 9M60 ขึ้นเฉลี่ย 3.8%yoy
และในงวด 4Q60 ASPS คาดจะยังขยายตัวต่อเนื่องในอัตรา 4% โดยมีแรงหนุนหลักจากภาคส่งออกที่สดใส ตามด้วย การบริโภคครัวเรือนคาดจะดีกว่างวด 3Q60 เนื่องจากมีมาตรการภาครัฐ อาทิ ช็อปช่วยชาติ (23 วันถึง 11 พ.ย. -3 ธ.ค.), บัตรสวัสดิการผู้มีรายได้น้อย (1 ต.ค. -31 ก.ย. 61) และเป็นช่วง High Season ขณะที่การลงทุนโดยรวมน่าจะทรงตัวจากงวดที่ผ่านมา (ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนเอกชน การลงทุนภาครัฐน่าจะชะลอตัวตามฤดูกาล เช่นเดียวกับการเบิกจ่ายภาครัฐคาดชะลอเนื่องจากเป็นช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2561/2562 โดยรวมปี 2560 GDP Growth จะเฉลี่ย 3.8% ดีกว่าประมาณการเดิมที่ 3.5% ส่วนปี 2561 คาดว่าจะขยายตัวได้เกิน 4% ตามประมาณการเดิม ติดตามอ่านรายละเอียดใน Economic Update ในรายงานฉบับยาว ภายในสัปดาห์นี้
และในงวด 4Q60 ASPS คาดจะยังขยายตัวต่อเนื่องในอัตรา 4% โดยมีแรงหนุนหลักจากภาคส่งออกที่สดใส ตามด้วย การบริโภคครัวเรือนคาดจะดีกว่างวด 3Q60 เนื่องจากมีมาตรการภาครัฐ อาทิ ช็อปช่วยชาติ (23 วันถึง 11 พ.ย. -3 ธ.ค.), บัตรสวัสดิการผู้มีรายได้น้อย (1 ต.ค. -31 ก.ย. 61) และเป็นช่วง High Season ขณะที่การลงทุนโดยรวมน่าจะทรงตัวจากงวดที่ผ่านมา (ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนเอกชน การลงทุนภาครัฐน่าจะชะลอตัวตามฤดูกาล เช่นเดียวกับการเบิกจ่ายภาครัฐคาดชะลอเนื่องจากเป็นช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2561/2562 โดยรวมปี 2560 GDP Growth จะเฉลี่ย 3.8% ดีกว่าประมาณการเดิมที่ 3.5% ส่วนปี 2561 คาดว่าจะขยายตัวได้เกิน 4% ตามประมาณการเดิม ติดตามอ่านรายละเอียดใน Economic Update ในรายงานฉบับยาว ภายในสัปดาห์นี้
คาดแรงขายต่างชาติชะลอตัว และแรงซื้อ LTF ยังเป็นกำลังสำคัญช่วยหนุนดัชนี
วานนี้ต่างชาติยังคงซื้อสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าราว 200 ล้านเหรียญ แต่ยังขายใน 2 ประเทศ คือ ไต้หวัน สลับมาขายสุทธิ 90 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิในวันก่อนหน้า) และอินโดนีเซีย 4 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 9) ส่วนอีก 3 ประเทศ ซื้อสุทธิ คือ เกาหลีใต้ ซื้อสุทธิอีกกว่า 278 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 6) ตามมาด้วยฟิลิปปินส์ 6 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) และไทยที่ต่างชาติซื้อสุทธิ 10 ล้านเหรียญ หรือ 343 ล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่ซื้อสุทธิอีก 366 ล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 3)
หากพิจารณาเฉพาะตลาดหุ้นไทย พบว่า แรงขายจากนักลงทุนต่างชาติเริ่มชะลอตัวลง และเริ่มมีแรงซื้อกลับเข้ามาบ้างเล็กน้อย รวมถึงแรงซื้อ LTF ที่คาดว่าจะทยอยเข้ามาอย่างต่อเนื่องจนถึงสิ้นปี ทำให้นักลงทุนสถาบันฯ ยังคงเป็นกลุ่มหลักที่จะช่วยประคอง SET Index ในช่วงที่เหลือของปี
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย สถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 4.40 พันล้านบาท เช่นเดียวกับต่างชาติที่ซื้อสุทธิ 7.60 พันล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 4)
วานนี้ต่างชาติยังคงซื้อสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าราว 200 ล้านเหรียญ แต่ยังขายใน 2 ประเทศ คือ ไต้หวัน สลับมาขายสุทธิ 90 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิในวันก่อนหน้า) และอินโดนีเซีย 4 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 9) ส่วนอีก 3 ประเทศ ซื้อสุทธิ คือ เกาหลีใต้ ซื้อสุทธิอีกกว่า 278 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 6) ตามมาด้วยฟิลิปปินส์ 6 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) และไทยที่ต่างชาติซื้อสุทธิ 10 ล้านเหรียญ หรือ 343 ล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่ซื้อสุทธิอีก 366 ล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 3)
หากพิจารณาเฉพาะตลาดหุ้นไทย พบว่า แรงขายจากนักลงทุนต่างชาติเริ่มชะลอตัวลง และเริ่มมีแรงซื้อกลับเข้ามาบ้างเล็กน้อย รวมถึงแรงซื้อ LTF ที่คาดว่าจะทยอยเข้ามาอย่างต่อเนื่องจนถึงสิ้นปี ทำให้นักลงทุนสถาบันฯ ยังคงเป็นกลุ่มหลักที่จะช่วยประคอง SET Index ในช่วงที่เหลือของปี
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย สถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 4.40 พันล้านบาท เช่นเดียวกับต่างชาติที่ซื้อสุทธิ 7.60 พันล้านบาท (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 4)
ตลาดผ่านการปรับฐานจบ หลังจากนี้ให้นำหนักหุ้นกำไรเด่น 4Q60
แนวโน้มตลาดหุ้นไทยนับจากนี้น่าจะแกว่งตัวเหนือ 1700 จุด และน่าจะผ่านการปรับฐานแล้ว หลังจากประกาศงบฯ 3Q60 เสร็จสิ้น ขณะที่สัญญาณการฟื้นตัวเศรษฐกิจที่ดีขึ้นในงวด 4Q60 และปี 2561 น่าจะมีส่วนหนุนให้ผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนมีแนวโน้มที่ดีขึ้นต่อเนื่องนับจากนี้ ดังนั้นตลาดฯ น่าจะให้น้ำหนักต่อผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนงวด 4Q60 ที่มีหลายกลุ่มฯ มีแนวโน้มเติบโต ขณะที่แรงซื้อของกองทุน LTF แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขระยะเวลาการถือครองนานขึ้นเป็น 7 ปีปฏิทิน จึงจะขายได้ รวมทั้งน่าจะมีผู้ถือหน่วยลงทุนบางส่วนทยอยขายออกไปบ้างในช่วงที่ดัชนีปรับขึ้นมาแรง แต่ก็เชื่อว่าจะยังมีเม็ดเงินใหม่ๆ ไหลเข้ามากระจุกตัวในช่วงปลายปีดังเช่นทุกปี ช่วยหนุนให้นักลงทุนสถาบันฯ ประคองตลาดฯ แม้ซื้อของนักลงทุนต่างชาติในช่วงที่เหลือของปีนี้จะน้อยลง เนื่องจากใกล้ฤดูพักผ่อนยาว
หากพิจารณาแนวโน้มผลการดำเนินงานของกลุ่มฯ ในงวด 4Q60 นั้น กลุ่มที่คาดว่าจะอ่อนตัวลง คาดว่าจะเป็นกลุ่มส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นช่วง low season หลังจากผ่าน 3Q60 ที่เป็น high season ไปแล้วเช่นเดียวกับกลุ่มส่งออกอาหารที่เป็นช่วง low season ของการส่งออกไก่ กุ้ง และทูน่า ส่วนกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนภาครัฐ คือ รับเหมาก่อสร้าง อาจทรงตัวในช่วงปลายปี เนื่องจากการประมูลโครงการใหม่ๆ จะไปเกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงปีหน้า
แนวโน้มตลาดหุ้นไทยนับจากนี้น่าจะแกว่งตัวเหนือ 1700 จุด และน่าจะผ่านการปรับฐานแล้ว หลังจากประกาศงบฯ 3Q60 เสร็จสิ้น ขณะที่สัญญาณการฟื้นตัวเศรษฐกิจที่ดีขึ้นในงวด 4Q60 และปี 2561 น่าจะมีส่วนหนุนให้ผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนมีแนวโน้มที่ดีขึ้นต่อเนื่องนับจากนี้ ดังนั้นตลาดฯ น่าจะให้น้ำหนักต่อผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนงวด 4Q60 ที่มีหลายกลุ่มฯ มีแนวโน้มเติบโต ขณะที่แรงซื้อของกองทุน LTF แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขระยะเวลาการถือครองนานขึ้นเป็น 7 ปีปฏิทิน จึงจะขายได้ รวมทั้งน่าจะมีผู้ถือหน่วยลงทุนบางส่วนทยอยขายออกไปบ้างในช่วงที่ดัชนีปรับขึ้นมาแรง แต่ก็เชื่อว่าจะยังมีเม็ดเงินใหม่ๆ ไหลเข้ามากระจุกตัวในช่วงปลายปีดังเช่นทุกปี ช่วยหนุนให้นักลงทุนสถาบันฯ ประคองตลาดฯ แม้ซื้อของนักลงทุนต่างชาติในช่วงที่เหลือของปีนี้จะน้อยลง เนื่องจากใกล้ฤดูพักผ่อนยาว
หากพิจารณาแนวโน้มผลการดำเนินงานของกลุ่มฯ ในงวด 4Q60 นั้น กลุ่มที่คาดว่าจะอ่อนตัวลง คาดว่าจะเป็นกลุ่มส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นช่วง low season หลังจากผ่าน 3Q60 ที่เป็น high season ไปแล้วเช่นเดียวกับกลุ่มส่งออกอาหารที่เป็นช่วง low season ของการส่งออกไก่ กุ้ง และทูน่า ส่วนกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนภาครัฐ คือ รับเหมาก่อสร้าง อาจทรงตัวในช่วงปลายปี เนื่องจากการประมูลโครงการใหม่ๆ จะไปเกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงปีหน้า
ขณะที่กลุ่มที่คาดว่าผลประกอบการ 4Q60 จะเติบโตเด่น อาทิ
กลุ่มค้าปลีก ตามช่วงฤดูกาลจับจ่ายใช้สอยปลายปี รวมทั้งดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง หนุนให้ยอดขายสาขาเดิม (SSSG) ขยายตัวได้ต่อเนื่อง เสริมด้วยมาตรการกระตุ้นจากภาครัฐ หนุนให้หลายบริษัทฯ ในกลุ่มฯ มีผลประกอบการสูงสุดในงวดนี้ แต่ราคาหุ้นในกลุ่มนี้ได้ตอบรับประเด็นบวกเหล่านี้แล้ว ยกเว้น ที่ยังมี upside คือ COM7 (FV@B21) รองลงมาคือ BJC (FV@B60)
กลุ่มท่องเที่ยว-โรงแรม จากการเข้าสู่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว รวมทั้งโรงแรมที่มีธุรกิจร้านอาหารจะได้อานิสงค์จากมาตรการกระตุ้นจากภาครัฐด้วยเช่นกัน แนะนำ ERW ([email protected]) และ MINT (FV@B50)
กลุ่มธนาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะ ธ.พ. ขนาดใหญ่ที่มีพอร์ตสินเชื่อรายใหญ่ รองรับแผนการลงทุนรอบใหม่ แนะนำ BBL (FV@210) และ SCB (FV@174)
กลุ่มพลังงาน น่าจะฟื้นตัวได้จากราคาน้ำมันโลกที่ปรับขึ้น และปริมาณการที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ขณะที่ทิศทางค่าการกลั่นที่กลับสู่สภาวะปกติ แต่ยังทรงตัวได้ในระดับสูง ส่วนราคาถ่านหินยังทรงตัวได้ในระดับสูงเช่นกัน แนะนำ PTTEP (FV@118) IRPC ([email protected]) PTTGC (FV@98) และ BANPU (FV@B26)
กลุ่มค้าปลีก ตามช่วงฤดูกาลจับจ่ายใช้สอยปลายปี รวมทั้งดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง หนุนให้ยอดขายสาขาเดิม (SSSG) ขยายตัวได้ต่อเนื่อง เสริมด้วยมาตรการกระตุ้นจากภาครัฐ หนุนให้หลายบริษัทฯ ในกลุ่มฯ มีผลประกอบการสูงสุดในงวดนี้ แต่ราคาหุ้นในกลุ่มนี้ได้ตอบรับประเด็นบวกเหล่านี้แล้ว ยกเว้น ที่ยังมี upside คือ COM7 (FV@B21) รองลงมาคือ BJC (FV@B60)
กลุ่มท่องเที่ยว-โรงแรม จากการเข้าสู่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว รวมทั้งโรงแรมที่มีธุรกิจร้านอาหารจะได้อานิสงค์จากมาตรการกระตุ้นจากภาครัฐด้วยเช่นกัน แนะนำ ERW ([email protected]) และ MINT (FV@B50)
กลุ่มธนาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะ ธ.พ. ขนาดใหญ่ที่มีพอร์ตสินเชื่อรายใหญ่ รองรับแผนการลงทุนรอบใหม่ แนะนำ BBL (FV@210) และ SCB (FV@174)
กลุ่มพลังงาน น่าจะฟื้นตัวได้จากราคาน้ำมันโลกที่ปรับขึ้น และปริมาณการที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ขณะที่ทิศทางค่าการกลั่นที่กลับสู่สภาวะปกติ แต่ยังทรงตัวได้ในระดับสูง ส่วนราคาถ่านหินยังทรงตัวได้ในระดับสูงเช่นกัน แนะนำ PTTEP (FV@118) IRPC ([email protected]) PTTGC (FV@98) และ BANPU (FV@B26)
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
OO2589
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
OO2589