- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Monday, 13 November 2017 16:49
- Hits: 1241
บล.เอเซียพลัส : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
กลยุทธ์การลงทุน
SET ปรับฐานเป็นสิ่งที่คาดหมายไว้เพราะเกิดจากแรงขายรับงบ 3Q60 แม้แรงหนุนจาก LTF ยังมีอยู่ แต่ยังถูกหักล้างจากต่างชาติที่ยังซื้อสลับขายอยู่ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์เน้นหุ้นที่มีผลกำไรดีกว่าคาดและมีการปรับเพิ่มกำไรขึ้นคือ WORK(FV@B135) ราคาหุ้นมี upside จาก Fair Value ปี 2561 กว่า 30% และ SAWAD(FV@B80) ราคาหุ้นยังไม่ตอบสนองข่าวบวกจากที่เป็น 1 ใน 3 หุ้นที่จะเข้าคำนวณ SET50 เลือกเป็น Top picks
กลยุทธ์การลงทุน
SET ปรับฐานเป็นสิ่งที่คาดหมายไว้เพราะเกิดจากแรงขายรับงบ 3Q60 แม้แรงหนุนจาก LTF ยังมีอยู่ แต่ยังถูกหักล้างจากต่างชาติที่ยังซื้อสลับขายอยู่ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์เน้นหุ้นที่มีผลกำไรดีกว่าคาดและมีการปรับเพิ่มกำไรขึ้นคือ WORK(FV@B135) ราคาหุ้นมี upside จาก Fair Value ปี 2561 กว่า 30% และ SAWAD(FV@B80) ราคาหุ้นยังไม่ตอบสนองข่าวบวกจากที่เป็น 1 ใน 3 หุ้นที่จะเข้าคำนวณ SET50 เลือกเป็น Top picks
ย้อนรอยตลาดหุ้นไทย ... SET Index ปรับฐานลงแรงกว่า 13 จุด
วันศุกร์ที่ผ่านมาตลาดหุ้นไทยยังคงปรับลงต่อเป็นวันที่ 3 โดยแกว่งตัวในแดนลบตลอดทั้งวัน ก่อนปิดที่ 1689.28 จุด ลดลงแรงกว่า 13.75 จุด หรือ 0.81% มูลค่าการซื้อขาย 5.7 หมื่นล้านบาท โดยเห็นแรงกดดันในหุ้น Market Cap ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น PTT ลดลง 0.48% เช่นเดียวกับ PTTGC และ IRPC ลดลง 1.25% และ 2.31% ส่วน TOP ลดลงแรงกว่า 3.84% แม้ฝ่ายวิจัยคาดว่ากำไร 3Q60 จะขึ้นทำ New high รายไตรมาส จากธุรกิจโรงกลั่น แต่ได้สะท้อนในราคาหุ้นไปมากแล้วทำให้ upside เริ่มจำกัด จึงแนะนำ switch ไปลงทุนในหุ้น PTTGC หรือ IRPC แทน ขณะที่กลุ่มค้าปลีกถูกขายทำกำไร ได้แก่ CPALL, HMPRO, BEAUTY, COM7 และ BJC ลดลง 2.13%, 3.79%, 1.71%, 1.84% และ 0.48% ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายวิจัยยังคงมีมุมมองเชิงบวกกลุ่มฯ เนื่องจาก CCI ที่ปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง 3 เดือน บวกกับแรงหนุนจากมาตรการช็อปช่วยชาติ ฝ่ายวิจัยยังคงชื่นชอบ COM7 และ BJC อีกกลุ่มที่ปรับลงคือ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ นำโดย KBANK ลดลง 1.36% ตามด้วย KTB ลดลง 1.09%, TMB ลดลง 0.78% BAY ลดลง 0.65% เช่นเดียวกับหุ้นกลุ่ม ICT ทั้ง TRUE DTAC INTUCH และ THCOM ลดลง 0.88% 1.54% 1.34% และ 0.79% ตามลำดับ
อย่างไรก็ตามยังมีหุ้นรายตัวที่สามารถปรับตัวขึ้นโดดเด่นสวนทางตลาด อย่าง NOK เพิ่มขึ้น 4.17% และ RSP หุ้นน้องใหม่ ปิดที่ 8.05 เพิ่มขึ้นกว่า 38.79% จากราคา IPO ที่ 5.80 บาท
สำหรับแนวโน้มตลาดวันนี้ คาดว่ายังเห็นการปรับฐาน และดัชนียังต่ำกว่า 1700 จุด โดยมีแนวโน้มรับ 1690-1685 จุด
ต่างประเทศกลับมาให้น้ำหนัก การใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงของสหรัฐ และ อังกฤษ
การเดินทางเยือนเอเซียของประธานาธิบดี ทรัมป์ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เป็นไปตามคาด โดยเป็นการเจรจากับประเทศคู่ค้าที่สหรัฐขาดดุลการค้าและกดดันเรื่องวิกฤติในคาบสมุทรเกาหลี และปัจจัยที่น่าจะให้น้ำหนักในสัปดาห์นี้ คือเรื่องการใช้นโยบายการเงินตึงตัวในประเทศพัฒนาแล้ว โดยจะมีการรายงานอัตราเงินเฟ้องวดเดือน ต.ค. 3 กลุ่มคือ อังกฤษ สหรัฐ และยุโรป
อังกฤษล่าสุด อัตราเงินเฟ้อเดือน ก.ย. เพิ่ม 3.0%yoy ส่งผลให้ธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) ขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรก 0.25% เป็น 0.5% (ในรอบ 10 ปี) และตลาดคาดว่าอัตราเงินเฟ้อเดือน ต.ค. น่าจะเพิ่มขึ้นถึง 3.1%
สหรัฐเงินเฟ้อเดือน ก.ย. อยู่ที่ 2.2% แต่ยังใกลเคียงกับเป้าหมายของธนาคารคารกลางสหรัฐ (Fed) ที่ 2.0% แล้ว และเงินที่สูงขณะนี้ยังผลกระทบชั่วคราว จากพายุเฮอร์ริเคน ประกอบกับตลาดคาดว่า อัตราเงินเฟ้อเดือน ต.ค. จะลดลงเหลือ 2.0% ทำให้เป็นไปได้ Fed อาจจะเลื่อนการขึ้นดอกเบี้ยไปเป็นปี 2561 แทน
ทางด้านยุโรป เงินเฟ้อเดือน ต.ค. (คาดการณ์เบื้องต้น) ลดลงเหลือ 1.4% จาก 1.5% เมื่อเดือน ก.ย. ขณะที่ดอกเบี้ย ฯ ยังอยู่ที่ 0% ประกอบกับธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้ต่ออายุมาตรการ QE ออกไปอีก 9 เดือน ในปีหน้า (ม.ค. 61 - ก.ย. 61) จึงคาดว่ายุโรปน่าจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้ภายหลังจากที่มาตรการ QE สิ้นสุดลงแล้ว
โดยสรุปการขึ้นดอกเบี้ยของประเทศพัฒนาแล้วน่าจะค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งหนุนให้ตลาดหุ้นโลกฟื้นตัว แต่น่าจะในอัตราที่ชะลอตัว
วันศุกร์ที่ผ่านมาตลาดหุ้นไทยยังคงปรับลงต่อเป็นวันที่ 3 โดยแกว่งตัวในแดนลบตลอดทั้งวัน ก่อนปิดที่ 1689.28 จุด ลดลงแรงกว่า 13.75 จุด หรือ 0.81% มูลค่าการซื้อขาย 5.7 หมื่นล้านบาท โดยเห็นแรงกดดันในหุ้น Market Cap ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น PTT ลดลง 0.48% เช่นเดียวกับ PTTGC และ IRPC ลดลง 1.25% และ 2.31% ส่วน TOP ลดลงแรงกว่า 3.84% แม้ฝ่ายวิจัยคาดว่ากำไร 3Q60 จะขึ้นทำ New high รายไตรมาส จากธุรกิจโรงกลั่น แต่ได้สะท้อนในราคาหุ้นไปมากแล้วทำให้ upside เริ่มจำกัด จึงแนะนำ switch ไปลงทุนในหุ้น PTTGC หรือ IRPC แทน ขณะที่กลุ่มค้าปลีกถูกขายทำกำไร ได้แก่ CPALL, HMPRO, BEAUTY, COM7 และ BJC ลดลง 2.13%, 3.79%, 1.71%, 1.84% และ 0.48% ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายวิจัยยังคงมีมุมมองเชิงบวกกลุ่มฯ เนื่องจาก CCI ที่ปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง 3 เดือน บวกกับแรงหนุนจากมาตรการช็อปช่วยชาติ ฝ่ายวิจัยยังคงชื่นชอบ COM7 และ BJC อีกกลุ่มที่ปรับลงคือ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ นำโดย KBANK ลดลง 1.36% ตามด้วย KTB ลดลง 1.09%, TMB ลดลง 0.78% BAY ลดลง 0.65% เช่นเดียวกับหุ้นกลุ่ม ICT ทั้ง TRUE DTAC INTUCH และ THCOM ลดลง 0.88% 1.54% 1.34% และ 0.79% ตามลำดับ
อย่างไรก็ตามยังมีหุ้นรายตัวที่สามารถปรับตัวขึ้นโดดเด่นสวนทางตลาด อย่าง NOK เพิ่มขึ้น 4.17% และ RSP หุ้นน้องใหม่ ปิดที่ 8.05 เพิ่มขึ้นกว่า 38.79% จากราคา IPO ที่ 5.80 บาท
สำหรับแนวโน้มตลาดวันนี้ คาดว่ายังเห็นการปรับฐาน และดัชนียังต่ำกว่า 1700 จุด โดยมีแนวโน้มรับ 1690-1685 จุด
ต่างประเทศกลับมาให้น้ำหนัก การใช้นโยบายดอกเบี้ยสูงของสหรัฐ และ อังกฤษ
การเดินทางเยือนเอเซียของประธานาธิบดี ทรัมป์ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เป็นไปตามคาด โดยเป็นการเจรจากับประเทศคู่ค้าที่สหรัฐขาดดุลการค้าและกดดันเรื่องวิกฤติในคาบสมุทรเกาหลี และปัจจัยที่น่าจะให้น้ำหนักในสัปดาห์นี้ คือเรื่องการใช้นโยบายการเงินตึงตัวในประเทศพัฒนาแล้ว โดยจะมีการรายงานอัตราเงินเฟ้องวดเดือน ต.ค. 3 กลุ่มคือ อังกฤษ สหรัฐ และยุโรป
อังกฤษล่าสุด อัตราเงินเฟ้อเดือน ก.ย. เพิ่ม 3.0%yoy ส่งผลให้ธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) ขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรก 0.25% เป็น 0.5% (ในรอบ 10 ปี) และตลาดคาดว่าอัตราเงินเฟ้อเดือน ต.ค. น่าจะเพิ่มขึ้นถึง 3.1%
สหรัฐเงินเฟ้อเดือน ก.ย. อยู่ที่ 2.2% แต่ยังใกลเคียงกับเป้าหมายของธนาคารคารกลางสหรัฐ (Fed) ที่ 2.0% แล้ว และเงินที่สูงขณะนี้ยังผลกระทบชั่วคราว จากพายุเฮอร์ริเคน ประกอบกับตลาดคาดว่า อัตราเงินเฟ้อเดือน ต.ค. จะลดลงเหลือ 2.0% ทำให้เป็นไปได้ Fed อาจจะเลื่อนการขึ้นดอกเบี้ยไปเป็นปี 2561 แทน
ทางด้านยุโรป เงินเฟ้อเดือน ต.ค. (คาดการณ์เบื้องต้น) ลดลงเหลือ 1.4% จาก 1.5% เมื่อเดือน ก.ย. ขณะที่ดอกเบี้ย ฯ ยังอยู่ที่ 0% ประกอบกับธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้ต่ออายุมาตรการ QE ออกไปอีก 9 เดือน ในปีหน้า (ม.ค. 61 - ก.ย. 61) จึงคาดว่ายุโรปน่าจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้ภายหลังจากที่มาตรการ QE สิ้นสุดลงแล้ว
โดยสรุปการขึ้นดอกเบี้ยของประเทศพัฒนาแล้วน่าจะค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งหนุนให้ตลาดหุ้นโลกฟื้นตัว แต่น่าจะในอัตราที่ชะลอตัว
ต่างชาติยังคงขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคเป็นวันที่ 3
วันศุกร์ที่ผ่านมาต่างชาติยังคงขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าราว 296 ล้านเหรียญ และเป็นการขายสุทธิเกือบทุกประเทศ ยกเว้นตลาดหุ้นไต้หวันเพียงแห่งเดียวเท่านั้นที่ยังซื้อสุทธิราว 8 ล้านเหรียญ (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน) สวนทางกับตลาดหุ้นที่เหลืออีก 4 แห่งที่ถูกขายสุทธิ เริ่มจากเกาหลีใต้ถูกขายสุทธิ 128 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) ตามมาด้วยอินโดนีเซีย 89 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), ฟิลิปปินส์ 4 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) และไทยที่ต่างชาติยังคงขายสุทธิอีกกว่า 82 ล้านเหรียญ หรือ 2.73 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) อย่างไรก็ตามตัดรายการ Big Lot ในหุ้น BJC กว่า 2.21 พันล้านบาท ต่างชาติ จะมียอดขายสุทธิหุ้นไทยในวันศุกร์ที่ผ่านมาเพียง 513 ล้านบาท เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่ขายสุทธิ 637 ล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3)
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย สถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 6.63 พันล้านบาท สวนทางกับต่างชาติที่ยังคงขายสุทธิ 656 ล้านบาท (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว)
วันศุกร์ที่ผ่านมาต่างชาติยังคงขายสุทธิหุ้นในภูมิภาคต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ด้วยมูลค่าราว 296 ล้านเหรียญ และเป็นการขายสุทธิเกือบทุกประเทศ ยกเว้นตลาดหุ้นไต้หวันเพียงแห่งเดียวเท่านั้นที่ยังซื้อสุทธิราว 8 ล้านเหรียญ (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน) สวนทางกับตลาดหุ้นที่เหลืออีก 4 แห่งที่ถูกขายสุทธิ เริ่มจากเกาหลีใต้ถูกขายสุทธิ 128 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) ตามมาด้วยอินโดนีเซีย 89 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3), ฟิลิปปินส์ 4 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) และไทยที่ต่างชาติยังคงขายสุทธิอีกกว่า 82 ล้านเหรียญ หรือ 2.73 พันล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 2) อย่างไรก็ตามตัดรายการ Big Lot ในหุ้น BJC กว่า 2.21 พันล้านบาท ต่างชาติ จะมียอดขายสุทธิหุ้นไทยในวันศุกร์ที่ผ่านมาเพียง 513 ล้านบาท เช่นเดียวกับสถาบันในประเทศที่ขายสุทธิ 637 ล้านบาท (ขายสุทธิเป็นวันที่ 3)
ส่วนทางด้านตลาดตราสารหนี้ไทย สถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 6.63 พันล้านบาท สวนทางกับต่างชาติที่ยังคงขายสุทธิ 656 ล้านบาท (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว)
ยังมีแรงขายรับงบ 3Q60 แต่เลือกหุ้นที่กำไรเด่น WORK, SAWAD
การรายงานงบฯ 3Q60 จนถึงช่วงค่ำวันศุกร์ที่ผ่านมา มีบริษัทจดทะเบียนประกาศงบฯ แล้ว 237 บริษัท คิดเป็น 57% ของ Market Cap. ทั้งตลาดฯ ทำกำไรสุทธิรวมกันได้ 1.35 แสนล้านบาท ใกล้เคียงกับ 3Q59 ที่ทำกำไรสุทธิได้ 1.34 แสนล้านบาท โดยผลการดำเนินงานเฉพาะภาคธุรกิจที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์ (Real Sector) พบว่า กำไรสุทธิ 3Q60 รวมกันอยู่ที่ 8.39 หมื่นล้านบาท เพิ่มขึ้น 13%yoy และ 5.8%qoq ขณะที่ภาพรวมกำไรสุทธิงวด 9M60 (เฉพาะที่ประกาศงบฯ แล้ว) อยู่ที่ 4.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น 2.2%yoy เมื่อเทียบกับ 9M59 ที่ทำได้ 4.23 แสนล้านบาท ส่วนกำไรสุทธิ 9M60 ของ Real sector อยู่ที่ 2.87 แสนล้านบาท ดีกว่า 9M59 ที่ 2.73 แสนล้านบาท หรือ 5.4%yoy
การรายงานงบฯ 3Q60 จนถึงช่วงค่ำวันศุกร์ที่ผ่านมา มีบริษัทจดทะเบียนประกาศงบฯ แล้ว 237 บริษัท คิดเป็น 57% ของ Market Cap. ทั้งตลาดฯ ทำกำไรสุทธิรวมกันได้ 1.35 แสนล้านบาท ใกล้เคียงกับ 3Q59 ที่ทำกำไรสุทธิได้ 1.34 แสนล้านบาท โดยผลการดำเนินงานเฉพาะภาคธุรกิจที่มิใช่ธนาคารพาณิชย์ (Real Sector) พบว่า กำไรสุทธิ 3Q60 รวมกันอยู่ที่ 8.39 หมื่นล้านบาท เพิ่มขึ้น 13%yoy และ 5.8%qoq ขณะที่ภาพรวมกำไรสุทธิงวด 9M60 (เฉพาะที่ประกาศงบฯ แล้ว) อยู่ที่ 4.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น 2.2%yoy เมื่อเทียบกับ 9M59 ที่ทำได้ 4.23 แสนล้านบาท ส่วนกำไรสุทธิ 9M60 ของ Real sector อยู่ที่ 2.87 แสนล้านบาท ดีกว่า 9M59 ที่ 2.73 แสนล้านบาท หรือ 5.4%yoy
โดยเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา บริษัทที่มีกำไรสุทธิดีกว่าคาด เช่น WHA (+1088%yoy, -48%qoq) RJH (+48%yoy, 63%qoq)
หุ้นที่กำไรสุทธิใกล้เคียงกับที่คาด เช่น BDMS (+3.5%yoy, -36%qoq) ROBINS (+20%yoy, +1.5%qoq)
หุ้นที่กำไรสุทธิต่ำกว่าคาด เช่น MAJOR (-9%yoy, -46%qoq) EA (+36%yoy, +1%qoq) SYNTEC (-8.6%yoy, -3.8%qoq)
หุ้นที่กำไรสุทธิใกล้เคียงกับที่คาด เช่น BDMS (+3.5%yoy, -36%qoq) ROBINS (+20%yoy, +1.5%qoq)
หุ้นที่กำไรสุทธิต่ำกว่าคาด เช่น MAJOR (-9%yoy, -46%qoq) EA (+36%yoy, +1%qoq) SYNTEC (-8.6%yoy, -3.8%qoq)
ทั้งนี้ ในส่วนของบริษัทที่ประกาศงบฯ ไปแล้ว ฝ่ายวิจัยได้มีการปรับประมาณการกำไรฯ ไปบ้างแล้ว เช่น หุ้นที่มีปรับประมาณการฯ ขึ้น
JMT (FV@B37) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 10.2 และ 11.1% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 30%yoy และ 19%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
IVL ([email protected]) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 5.7 และ 5.5% ตามลำดับ โดยคาดกำไรปกติปีนี้และปีหน้าเติบโต 58%yoy และ 35%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
WORK (FV@B135) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 25 และ 36% ตามลำดับ โดยคาดกำไรฯ ปีนี้และปีหน้าเติบโต 431%yoy และ 33%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
TFG (FV@B7) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 10.2 และ 11.3% ตามลำดับ โดยคาดกำไรฯ ปีนี้และปีหน้าเติบโต 31%yoy และ 17%yoy ตามลำดับ เพิ่มคำแนะนำเป็น ซื้อ
SAT ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 9.5 และ 6.3% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 18%yoy และ 3%yoy ตามลำดับ แต่ราคาหุ้นปัจจุบันมี upside จำกัด จึงแนะนำ switch ไป STANLY (FV@B259) หรือ SNC ([email protected])
SMIT ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 6.8 และ 10.6% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 16.7%yoy และ 6.1%yoy ตามลำดับ แต่ราคาหุ้นปัจจุบันมี upside จำกัด จึงแนะนำ switch ไป MCS (FV@B20)
JMT (FV@B37) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 10.2 และ 11.1% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 30%yoy และ 19%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
IVL ([email protected]) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 5.7 และ 5.5% ตามลำดับ โดยคาดกำไรปกติปีนี้และปีหน้าเติบโต 58%yoy และ 35%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
WORK (FV@B135) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 25 และ 36% ตามลำดับ โดยคาดกำไรฯ ปีนี้และปีหน้าเติบโต 431%yoy และ 33%yoy ตามลำดับ แนะนำซื้อ
TFG (FV@B7) ปรับประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 10.2 และ 11.3% ตามลำดับ โดยคาดกำไรฯ ปีนี้และปีหน้าเติบโต 31%yoy และ 17%yoy ตามลำดับ เพิ่มคำแนะนำเป็น ซื้อ
SAT ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 9.5 และ 6.3% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 18%yoy และ 3%yoy ตามลำดับ แต่ราคาหุ้นปัจจุบันมี upside จำกัด จึงแนะนำ switch ไป STANLY (FV@B259) หรือ SNC ([email protected])
SMIT ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 6.8 และ 10.6% ตามลำดับ โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้และปีหน้าเติบโต 16.7%yoy และ 6.1%yoy ตามลำดับ แต่ราคาหุ้นปัจจุบันมี upside จำกัด จึงแนะนำ switch ไป MCS (FV@B20)
หุ้นที่มีปรับประมาณการฯ ลง
AP ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรปกติปี 2560-61 ลงจากเดิม 3.9 และ 2.2% ตามลำดับ แต่คาดยังเติบโต 10.9%yoy และ 10.5%yoy ในปีนี้และปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ซื้อ พร้อมคาดหวัง Div.Yield ราว 4%
BLA (FV@B42) ปรับประมาณการกำไรปกติปี 2560 ลงจากเดิม 29.6% โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้หดตัว 38%yoy แต่จะพลิกกลับมาฟื้นตัว 49.5%yoy ในปี 2561 จึงปรับเพิ่มคำแนะนำเป็น ซื้อ หลังราคาหุ้นสะท้อนผลกระทบปัจจัยกดดันต่างๆ ไปมากแล้ว
GUNKUL (FV@B5) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ลงจากเดิม 16.5 และ 18.4% ตามลำดับ แต่คาดยังเติบโต 19.7%yoy และ 60.2%yoy ในปีนี้และปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ซื้อ ราคาหุ้นปัจจุบันยัง laggard กลุ่มฯ มาก
KCE (FV@B85) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ลงจากเดิม 8 และ 12% ตามลำดับ คาด กำไรสุทธิปีนี้หดตัว 18.5%yoy แต่จะกลับมาเติบโต 7.4%yoy ในปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ขาย ไปลงทุนใน HANA (FV@B53) แทน
AP ([email protected]) ปรับประมาณการกำไรปกติปี 2560-61 ลงจากเดิม 3.9 และ 2.2% ตามลำดับ แต่คาดยังเติบโต 10.9%yoy และ 10.5%yoy ในปีนี้และปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ซื้อ พร้อมคาดหวัง Div.Yield ราว 4%
BLA (FV@B42) ปรับประมาณการกำไรปกติปี 2560 ลงจากเดิม 29.6% โดยคาดกำไรสุทธิปีนี้หดตัว 38%yoy แต่จะพลิกกลับมาฟื้นตัว 49.5%yoy ในปี 2561 จึงปรับเพิ่มคำแนะนำเป็น ซื้อ หลังราคาหุ้นสะท้อนผลกระทบปัจจัยกดดันต่างๆ ไปมากแล้ว
GUNKUL (FV@B5) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ลงจากเดิม 16.5 และ 18.4% ตามลำดับ แต่คาดยังเติบโต 19.7%yoy และ 60.2%yoy ในปีนี้และปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ซื้อ ราคาหุ้นปัจจุบันยัง laggard กลุ่มฯ มาก
KCE (FV@B85) ปรับประมาณการกำไรสุทธิปี 2560-61 ลงจากเดิม 8 และ 12% ตามลำดับ คาด กำไรสุทธิปีนี้หดตัว 18.5%yoy แต่จะกลับมาเติบโต 7.4%yoy ในปีหน้า ยังคงคำแนะนำ ขาย ไปลงทุนใน HANA (FV@B53) แทน
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
OO2282