- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Thursday, 19 October 2017 16:25
- Hits: 1206
บล.เอเซียพลัส : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
กลยุทธ์การลงทุน
การปรับฐานยังน่าจะมีอยู่ มีแนวรับที่ 1700 จุด โดยยังมีแรงขายทำกำไรหุ้นธนาคารเป็นรายตัว หลังรายงานงบ 3Q60 แต่ยังมีข่าวดีหลังบอร์ด กสทช. เตรียมเสนอให้ลดต้นทุนส่วนแบ่งรายได้ แก่ทีวีดิจิตัล ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าหุ้นแก่ BEC, MONO แต่ราคาหุ้นแพงแล้ว ยกเว้น WORK ราคาหุ้นยังมี upside สูงสุด กลยุทธ์เลือกเป็นรายหุ้น สื่อสาร (THCOM, INTUCH) พลังงาน (PTTEP) ธนาคาร (KKP, BBL) วัสดุก่อสร้าง (SCC) Top pick THANI([email protected]) สินเชื่อดีกว่าคาด ทำให้เพิ่ม fair value ขึ้นจากเดิม 28%
กลยุทธ์การลงทุน
การปรับฐานยังน่าจะมีอยู่ มีแนวรับที่ 1700 จุด โดยยังมีแรงขายทำกำไรหุ้นธนาคารเป็นรายตัว หลังรายงานงบ 3Q60 แต่ยังมีข่าวดีหลังบอร์ด กสทช. เตรียมเสนอให้ลดต้นทุนส่วนแบ่งรายได้ แก่ทีวีดิจิตัล ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าหุ้นแก่ BEC, MONO แต่ราคาหุ้นแพงแล้ว ยกเว้น WORK ราคาหุ้นยังมี upside สูงสุด กลยุทธ์เลือกเป็นรายหุ้น สื่อสาร (THCOM, INTUCH) พลังงาน (PTTEP) ธนาคาร (KKP, BBL) วัสดุก่อสร้าง (SCC) Top pick THANI([email protected]) สินเชื่อดีกว่าคาด ทำให้เพิ่ม fair value ขึ้นจากเดิม 28%
ย้อนรอยตลาดหุ้นไทย SET Index ปรับฐานลงแรงกว่า 16 จุด
วานนี้ตลาดหุ้นในภูมิภาคปรับตัวลงหลายแห่ง รวมทั้งตลาดหุ้นไทย โดย SET Index ต้องเผชิญแรงขายกดดันดัชนีอยู่ในแดนลบตลอดวันก่อนจะปิดที่ 1707.53 จุด ลดลงถึง 16.94 จุด หรือ 0.98% มูลค่าการซื้อขายกว่า 5.98 หมื่นล้านบาท หลักๆ มาจากแรงขายในหุ้น Market Cap ขนาดใหญ่ อาทิ หุ้นน้ำมัน ทั้ง PTT และ PTTEP ลดลง 1.86% และ 1.61% หุ้นโรงกลั่น-ปิโตรเคมี คือ IVL IRPC และ TOP ลดลง 1.11% 0.77% และ 1.45% ตามลำดับ อีกกลุ่มที่ปรับตัวลงแทบทั้งกลุ่มคือ ICT ผู้ให้บริการมือถือทั้ง 3 ค่ายอย่าง ADVANC ลดลง 2.26% ส่วน TRUE และ DTAC ลดลง 1.57% และ 1.88% ซึ่งก่อนหน้านี้ราคาหุ้นปรับตัวขึ้นจนเกินมูลค่าพื้นฐานไปมากแล้วจึงแนะนำให้ switch ไปยังหุ้น Laggard ของกลุ่มอย่าง THCOM และ INTUCH
ส่วน GL วานนี้ราคาร่วงลงติด floor ต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 โดยมีการแจ้งเปลี่ยนแปลงวันประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จาก 18 เป็น 20 ต.ค. นี้ และ ทริส เรทติ้ง ได้ปรับลดเครดิตหุ้นกู้มีการค้ำประกันบางส่วนเป็น BB+ จากเดิม A- และประกาศเครดิตพินิจแนวโน้ม “ลบ” สะท้อนถึงความไม่แน่นอนของสถานะของธุรกิจและการเงินของบริษัทที่อาจเสื่อมถอยลงในระยะใกล้
ส่วนกลุ่มที่ปรับตัวขึ้นสวนทางตลาดคือ หุ้นเดินเรือ หลังจากดัชนีค่าระวางเรือ (BDI) วิ่งขึ้นทำ New high อย่างต่อเนื่อง โดย TTA PSL และ RCL ปรับตัวขึ้นโดดเด่นกว่า 3.96% 5.22% และ 6.25% ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มตลาดฯ วันนี้ เชื่อว่าดัชนีมีโอกาสฟื้นตัวได้หลังจากวานนี้ปรับฐานลงแรง โดยคาดแนวรับระหว่างวันจะอยู่ที่ 1706/1700 จุด และแนวต้านระหว่างวันที่ 1716 จุด
กสทช. เตรียมลดส่วนแบ่งรายได้แก่ทีวีดิจีทัล บวก BEC, MONO, WORK
ท่ามกลางตลาดมีการขายทำกำไรระยะสั้น กลับมีข่าวดีมาสลับทำให้มีการซื้อขายหุ้นกันอีกครั้ง เนื่องจากคณะกรรมการ กสทช. ได้มีมติให้ลดค่าธรรมเนียม (ตามส่วนแบ่งรายได้ เป็นขั้นบันได ดังตารางข้างล่าง) เนื่องจากผู้ประกอบการทีวีดิจิทัลต่างเผชิญกับภาวะขาดทุน เพราะต้นทุนที่สูงมาก จนทำให้ผู้ประกอบการหลายรายต้องขายใบอนุญาต หรืออยู่ในธุรกิจลำบาก โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายใหม่/รายเดิม ที่ขาด หรือไม่มีจุดเด่นด้าน contents เช่น NMG, MCOT เป็นต้น ส่วนผู้ประกอบการรายใหญ่ รายเดิม อย่าง BEC และ ช่อง 7 ต้องเผชิญภาวะการแข่งขันที่รุนแรง และต้องสูญเสียส่วนแบ่งตลาดให้กับรายใหม่ที่มี contents เป็นของตนเองเช่น RS, MONO
ต้นทุนของผู้ประกอบการทีวิดิจิทัล ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ต้นทุนคงที่คือ ค่าใบอนุญาตกว่า 2 พันล้านบาทต่อ ใบอนุญาต 1 ใบ แต่สามารถตัดจ่าย 15 ปี และต้นทุนที่จ่ายเป็นรายปี ซึ่งประกอบด้วย ส่วนแบ่งรายได้ราว 2% บวกกับการจ่ายเงินเข้ากองทุน (USO) 2% (ได้รับผ่อนผันมาเริ่มจ่ายปี 2561)
การปรับลดค่าธรรมเนียมดังกล่าว ถือวาดีต่อผู้ให้บริการทีวีดิจิทัลทุกราย โดยเฉพาะผู้ที่ rating ลำดับต้น ๆ อย่าง WOEK, BEC และผู้ที่มี rating ลำดับรองลงมาคือ RS, MONO เป็นต้น
จากการประเมินมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้น จากผลบวกของต้นทุนส่วนแบ่งรายได้ที่ลดลงดังล่าว พบว่า WORK จะเพิ่มขึ้นราว 3 บาทต่อหุ้น ในปีนี้ เทียบกับมูลค่าหุ้นเดิม 89 บาท เพิ่มเป็น 92 บาทในปี 2560 และ จะเพิ่มเป็น 107 บาทในปี 2561 แนะนำซื้อ และเลือกเป็นเป็น top pick ในกลุ่มทีวีดิจิทัล
ส่วน BEC ถือว่ามูลค่าหุ้นได้สะท้อนปัจจัยบวกดังกล่าวแล้ว เพราะหากประเมินมูลค่าเพิ่มที่จะได้รับจากการประหยัดต้นทุนในครั้งนี้อยู่ที่ ราวหุ้นละ 2.8 บาท แต่เนื่องจากกำไรในงวด 1H60 ทำได้น้อยกว่าประมาณการที่ทำไว้ทั้งปี 2560 มาก จึงเตรียมปรับลดประมาณการและมูลค่าหุ้น เชื่อว่าราคาหุ้นที่ปรับขึ้นมาล่าสุด ถือว่าสะท้อนประเด็นบวกดังกล่าวแล้ว ยังคงแนะนำ switch
ส่วน RS มูลค่าหุ้นจะเพิ่มราวหุ้นละ 0.3 บาทในปีนี้ แต่ปี 2561 จะมี dilution effect จากการใช้สิทธิแปลงภาพ RS-W3 193 ล้านหน่วยที่ราคาหุ้นละ 12.5 บาท (ครบกำหนดปี 2563) จะทำให้มูลค่าหุ้นปี 2561 ลดลงเหลือ 16 บาทจากปีนี้ที่ 16.1 บาท จึงทำให้ลดคำแนะนำเป็น switch จากเดิมซื้อ
MONO มูลค่าหุ้นจะเพิ่มราวหุ้นละ 0.072 บาท ในปีนี้ (อิง Expected P/E 40 เท่า กำไรสุทธิหลังภาษีที่ประหยัด 9.41 ล้านบาท) ขณะที่ปี 2561 คาดว่าจะทำกำไรได้ 200 ล้านบาท คิดเป็นต่อหุ้น 0.035 บาท ราคาตลาดมี P/E กว่า 100 เท่า ถือว่าได้สะท้อนข่าวบวกดังกล่าวแล้ว แนะนำขาย
วานนี้ตลาดหุ้นในภูมิภาคปรับตัวลงหลายแห่ง รวมทั้งตลาดหุ้นไทย โดย SET Index ต้องเผชิญแรงขายกดดันดัชนีอยู่ในแดนลบตลอดวันก่อนจะปิดที่ 1707.53 จุด ลดลงถึง 16.94 จุด หรือ 0.98% มูลค่าการซื้อขายกว่า 5.98 หมื่นล้านบาท หลักๆ มาจากแรงขายในหุ้น Market Cap ขนาดใหญ่ อาทิ หุ้นน้ำมัน ทั้ง PTT และ PTTEP ลดลง 1.86% และ 1.61% หุ้นโรงกลั่น-ปิโตรเคมี คือ IVL IRPC และ TOP ลดลง 1.11% 0.77% และ 1.45% ตามลำดับ อีกกลุ่มที่ปรับตัวลงแทบทั้งกลุ่มคือ ICT ผู้ให้บริการมือถือทั้ง 3 ค่ายอย่าง ADVANC ลดลง 2.26% ส่วน TRUE และ DTAC ลดลง 1.57% และ 1.88% ซึ่งก่อนหน้านี้ราคาหุ้นปรับตัวขึ้นจนเกินมูลค่าพื้นฐานไปมากแล้วจึงแนะนำให้ switch ไปยังหุ้น Laggard ของกลุ่มอย่าง THCOM และ INTUCH
ส่วน GL วานนี้ราคาร่วงลงติด floor ต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 โดยมีการแจ้งเปลี่ยนแปลงวันประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จาก 18 เป็น 20 ต.ค. นี้ และ ทริส เรทติ้ง ได้ปรับลดเครดิตหุ้นกู้มีการค้ำประกันบางส่วนเป็น BB+ จากเดิม A- และประกาศเครดิตพินิจแนวโน้ม “ลบ” สะท้อนถึงความไม่แน่นอนของสถานะของธุรกิจและการเงินของบริษัทที่อาจเสื่อมถอยลงในระยะใกล้
ส่วนกลุ่มที่ปรับตัวขึ้นสวนทางตลาดคือ หุ้นเดินเรือ หลังจากดัชนีค่าระวางเรือ (BDI) วิ่งขึ้นทำ New high อย่างต่อเนื่อง โดย TTA PSL และ RCL ปรับตัวขึ้นโดดเด่นกว่า 3.96% 5.22% และ 6.25% ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มตลาดฯ วันนี้ เชื่อว่าดัชนีมีโอกาสฟื้นตัวได้หลังจากวานนี้ปรับฐานลงแรง โดยคาดแนวรับระหว่างวันจะอยู่ที่ 1706/1700 จุด และแนวต้านระหว่างวันที่ 1716 จุด
กสทช. เตรียมลดส่วนแบ่งรายได้แก่ทีวีดิจีทัล บวก BEC, MONO, WORK
ท่ามกลางตลาดมีการขายทำกำไรระยะสั้น กลับมีข่าวดีมาสลับทำให้มีการซื้อขายหุ้นกันอีกครั้ง เนื่องจากคณะกรรมการ กสทช. ได้มีมติให้ลดค่าธรรมเนียม (ตามส่วนแบ่งรายได้ เป็นขั้นบันได ดังตารางข้างล่าง) เนื่องจากผู้ประกอบการทีวีดิจิทัลต่างเผชิญกับภาวะขาดทุน เพราะต้นทุนที่สูงมาก จนทำให้ผู้ประกอบการหลายรายต้องขายใบอนุญาต หรืออยู่ในธุรกิจลำบาก โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายใหม่/รายเดิม ที่ขาด หรือไม่มีจุดเด่นด้าน contents เช่น NMG, MCOT เป็นต้น ส่วนผู้ประกอบการรายใหญ่ รายเดิม อย่าง BEC และ ช่อง 7 ต้องเผชิญภาวะการแข่งขันที่รุนแรง และต้องสูญเสียส่วนแบ่งตลาดให้กับรายใหม่ที่มี contents เป็นของตนเองเช่น RS, MONO
ต้นทุนของผู้ประกอบการทีวิดิจิทัล ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ต้นทุนคงที่คือ ค่าใบอนุญาตกว่า 2 พันล้านบาทต่อ ใบอนุญาต 1 ใบ แต่สามารถตัดจ่าย 15 ปี และต้นทุนที่จ่ายเป็นรายปี ซึ่งประกอบด้วย ส่วนแบ่งรายได้ราว 2% บวกกับการจ่ายเงินเข้ากองทุน (USO) 2% (ได้รับผ่อนผันมาเริ่มจ่ายปี 2561)
การปรับลดค่าธรรมเนียมดังกล่าว ถือวาดีต่อผู้ให้บริการทีวีดิจิทัลทุกราย โดยเฉพาะผู้ที่ rating ลำดับต้น ๆ อย่าง WOEK, BEC และผู้ที่มี rating ลำดับรองลงมาคือ RS, MONO เป็นต้น
จากการประเมินมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้น จากผลบวกของต้นทุนส่วนแบ่งรายได้ที่ลดลงดังล่าว พบว่า WORK จะเพิ่มขึ้นราว 3 บาทต่อหุ้น ในปีนี้ เทียบกับมูลค่าหุ้นเดิม 89 บาท เพิ่มเป็น 92 บาทในปี 2560 และ จะเพิ่มเป็น 107 บาทในปี 2561 แนะนำซื้อ และเลือกเป็นเป็น top pick ในกลุ่มทีวีดิจิทัล
ส่วน BEC ถือว่ามูลค่าหุ้นได้สะท้อนปัจจัยบวกดังกล่าวแล้ว เพราะหากประเมินมูลค่าเพิ่มที่จะได้รับจากการประหยัดต้นทุนในครั้งนี้อยู่ที่ ราวหุ้นละ 2.8 บาท แต่เนื่องจากกำไรในงวด 1H60 ทำได้น้อยกว่าประมาณการที่ทำไว้ทั้งปี 2560 มาก จึงเตรียมปรับลดประมาณการและมูลค่าหุ้น เชื่อว่าราคาหุ้นที่ปรับขึ้นมาล่าสุด ถือว่าสะท้อนประเด็นบวกดังกล่าวแล้ว ยังคงแนะนำ switch
ส่วน RS มูลค่าหุ้นจะเพิ่มราวหุ้นละ 0.3 บาทในปีนี้ แต่ปี 2561 จะมี dilution effect จากการใช้สิทธิแปลงภาพ RS-W3 193 ล้านหน่วยที่ราคาหุ้นละ 12.5 บาท (ครบกำหนดปี 2563) จะทำให้มูลค่าหุ้นปี 2561 ลดลงเหลือ 16 บาทจากปีนี้ที่ 16.1 บาท จึงทำให้ลดคำแนะนำเป็น switch จากเดิมซื้อ
MONO มูลค่าหุ้นจะเพิ่มราวหุ้นละ 0.072 บาท ในปีนี้ (อิง Expected P/E 40 เท่า กำไรสุทธิหลังภาษีที่ประหยัด 9.41 ล้านบาท) ขณะที่ปี 2561 คาดว่าจะทำกำไรได้ 200 ล้านบาท คิดเป็นต่อหุ้น 0.035 บาท ราคาตลาดมี P/E กว่า 100 เท่า ถือว่าได้สะท้อนข่าวบวกดังกล่าวแล้ว แนะนำขาย
Sell on fact หุ้นธนาคารที่ประกาศล่าสุด TCAP
วานนี้หุ้นในกลุ่ม ธ.พ. ลดลงแทบทั้งกลุ่มรับผลการดำเนินงาน 3Q60 ที่กำลังรายงานในสัปดาห์นี้ โดย KTB ลดลง 3.82% ตามด้วย SCB ลดลง 1.66%, BBL ลดลง 1.28% KBANK ลดลง 0.92% และ LHBANK ลดลง 0.56% ยกเว้น TMB และ TISCO ฟื้นตัวขึ้น 2.38% และ 0.30% หลังถูก sell on fact ไปวันก่อนหน้า รายละเอียดคือ
TCAP (FV’61@B 58) วานนี้ราคาหุ้นลดลง 0.95% รับงบ 3Q60 ที่ทำกำไรสุทธิได้ดีกว่าคาดที่ 1.79 พันล้านบาท เติบโต 6.8% qoq และ 19.0% yoy หนุนด้วยการเติบโตของธุรกิจหลักที่แข็งแกร่งมาก โดยเฉพาะรายได้ค่าธรรมเนียมฯ จากการขายกองทุน และรายได้ค่านายหน้าจากธุรกรรมซื้อขายหลักทรัพย์ ขณะที่รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยอื่นๆ เพิ่มขึ้นเช่นกัน คือ กำไรจากการขายเงินลงทุนทั้งจากการขายพันธบัตรและเงินลงทุนใน MBK ส่วนรายได้จาก บ.ย่อย ที่เป็นบริษัทประกันวินาศภัย เติบโตเพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สำหรับรายได้ดอกเบี้ยรับสุทธิ เติบโตสูงกว่าคาดเช่นกัน นอกจากนี้ยังได้ผลบวกจากค่าใช้จ่ายดำเนินงานที่ลดลง รวมถึง effective tax rate ที่ต่ำเพียง 8.5% ของกำไรก่อนหักภาษีฯ ในงวดนี้ โดยรวมคาดกำไรสุทธิปี 2560-61 เติบโต 17.0% yoy และ 12.0% yoy กำหนด Fair value ปี 2561 เท่ากับ 58 บาท มี upside ราว 11.5% จึงแนะนำ ซื้อ เมื่อราคาอ่อนตัว
ขณะที่ KKP (FV@B 78.5) วานนี้ปรับเพิ่มขึ้น 1.34% โดยฝ่ายวิจัยคาดกำไรฯ งวด 3Q60 อยู่ที่ราว 1.30 พันล้านบาท เติบโต 9.4%qoq ดีขึ้นจากงวด 2Q60 กำไรสุทธิอ่อนตัวเหลือเพียง 1.19 พันล้านบาท ซึ่งเกิดจากการตั้งสำรองหนี้ฯ ที่เพิ่มขึ้นและคาดว่าการตั้งสำรองฯ จะลดลงในไตรมาสนี้ โดยรวมคาดกำไรสุทธิปีหน้าเติบโต 15% จากปีนี้ที่ทรงตัว ทั้งยังสามารถคาดหวัง div yield ปีนี้ได้สูงถึง 8% (คาดจ่ายปันผลงวดผลประกอบการ 2H60 ที่ 4 บาท) จึงยังแนะนำให้สะสมเพิ่มได้
วานนี้หุ้นในกลุ่ม ธ.พ. ลดลงแทบทั้งกลุ่มรับผลการดำเนินงาน 3Q60 ที่กำลังรายงานในสัปดาห์นี้ โดย KTB ลดลง 3.82% ตามด้วย SCB ลดลง 1.66%, BBL ลดลง 1.28% KBANK ลดลง 0.92% และ LHBANK ลดลง 0.56% ยกเว้น TMB และ TISCO ฟื้นตัวขึ้น 2.38% และ 0.30% หลังถูก sell on fact ไปวันก่อนหน้า รายละเอียดคือ
TCAP (FV’61@B 58) วานนี้ราคาหุ้นลดลง 0.95% รับงบ 3Q60 ที่ทำกำไรสุทธิได้ดีกว่าคาดที่ 1.79 พันล้านบาท เติบโต 6.8% qoq และ 19.0% yoy หนุนด้วยการเติบโตของธุรกิจหลักที่แข็งแกร่งมาก โดยเฉพาะรายได้ค่าธรรมเนียมฯ จากการขายกองทุน และรายได้ค่านายหน้าจากธุรกรรมซื้อขายหลักทรัพย์ ขณะที่รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยอื่นๆ เพิ่มขึ้นเช่นกัน คือ กำไรจากการขายเงินลงทุนทั้งจากการขายพันธบัตรและเงินลงทุนใน MBK ส่วนรายได้จาก บ.ย่อย ที่เป็นบริษัทประกันวินาศภัย เติบโตเพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สำหรับรายได้ดอกเบี้ยรับสุทธิ เติบโตสูงกว่าคาดเช่นกัน นอกจากนี้ยังได้ผลบวกจากค่าใช้จ่ายดำเนินงานที่ลดลง รวมถึง effective tax rate ที่ต่ำเพียง 8.5% ของกำไรก่อนหักภาษีฯ ในงวดนี้ โดยรวมคาดกำไรสุทธิปี 2560-61 เติบโต 17.0% yoy และ 12.0% yoy กำหนด Fair value ปี 2561 เท่ากับ 58 บาท มี upside ราว 11.5% จึงแนะนำ ซื้อ เมื่อราคาอ่อนตัว
ขณะที่ KKP (FV@B 78.5) วานนี้ปรับเพิ่มขึ้น 1.34% โดยฝ่ายวิจัยคาดกำไรฯ งวด 3Q60 อยู่ที่ราว 1.30 พันล้านบาท เติบโต 9.4%qoq ดีขึ้นจากงวด 2Q60 กำไรสุทธิอ่อนตัวเหลือเพียง 1.19 พันล้านบาท ซึ่งเกิดจากการตั้งสำรองหนี้ฯ ที่เพิ่มขึ้นและคาดว่าการตั้งสำรองฯ จะลดลงในไตรมาสนี้ โดยรวมคาดกำไรสุทธิปีหน้าเติบโต 15% จากปีนี้ที่ทรงตัว ทั้งยังสามารถคาดหวัง div yield ปีนี้ได้สูงถึง 8% (คาดจ่ายปันผลงวดผลประกอบการ 2H60 ที่ 4 บาท) จึงยังแนะนำให้สะสมเพิ่มได้
DTAC 3Q60 อ่อนตัวตามคาด vs THANI สินเชื่อดีกว่าคาด เพิ่มมูลค่าหุ้น 28%
วานนี้ DTAC รายงานงบ 3Q60 ตามคาด ลดลง 19.1%qoq และ 8.8%yoy ขณะที่กำไรปกติลดลงถึง 36.3%qoq และ 27.8%qoq เพราะยังคงเสียลูกค้าเติมเงินให้คู่แข่ง (หลังจากฟื้นตัวได้เมื่อไตรมาสที่ผ่านมา) ขณะที่ค่าใช้จ่ายดำเนินงานทรงตัว qoq แม้การเปิดตัว Line Mobile ช่วยลดต้นทุนในไตรมาสนี้ อย่างไรก็ตาม DTAC ยังเป็นรายเดียวที่ต้องลงทุน 4G บนคลื่น 2300 MHz สวนทางกับคู่แข่งที่มีความพร้อม 4G แล้ว ขณะที่ปัจจัยกดดันในเรื่องการลงทุน 4G ที่อยู่บนคลื่น 1800 MHz จะต้องโอนกรรมสิทธิ์โครงข่ายให้ CAT และ จะประมูลคลื่นกลับมาในปีหน้า และกลับไปเช่าใช้โครงข่ายอีกครั้ง โดยรวมจึงส่งผลให้ต้นทุนเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าคู่แข่งในปี 2561 และน่าจะทำให้ผลประกอบการปี 2561 พลิกมาขาดทุน 957 ล้านบาท จากปี 2560 ที่มีกำไร 1.96 พันล้านบาท ก่อนที่ปี 2562 จะกลับมามีกำไรอีกครั้งที่ 4.1 พันล้านบาท หลังหยุดรับรู้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสัมปทาน จึงคงแนะนำ switch ไปยัง ADVANC (FV’61@B 230) ที่มีแนวโน้มผลประกอบการที่เติบโตดีกว่า
THANI (FV’61@B 9.30) วานนี้รายงานงบฯ 3Q60 กำไรสุทธิที่ 302 ล้านบาท เติบโตถึง 38.4%yoy ขึ้นทำ new high รายไตรมาสต่อเนื่อง จากการเติบโตของสินเชื่อตามภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีการฟื้นตัว อีกทั้งเป็นช่วง high season ของทุกปี หนุนความต้องการใช้สินเชื่อ ทั้งสินเชื่อเช่าซื้อรถบรรทุกและสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์เพิ่มมากขึ้น และมีปัจจัยหนุนหลักคือโครงการภาครัฐ การส่งออก และการขนส่งที่ทยอยดีขึ้น และ spread ที่ยังเป็นขาขึ้น จากต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายที่ทยอยลดลง
ฝ่ายวิจัยปรับเพิ่มประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 8.5% และ 9.9% ตามลำดับ โดยปรับสมมติฐานการเติบโตของสินเชื่อปี 2560-61 ขึ้นเป็น 16.3% และ 15.4% จากเดิม 10% และ 9.9% ตามลำดับ และปรับลดสมมติฐานต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายปี 2560-61 เป็น 3% และ 3.1% จาก 3.5% และ 3.6% ตามลำดับ ส่งผลให้คาดการณ์กำไรสุทธิปี 2560 อยู่ที่ 1,127 ล้านบาท เติบโตถึง 28%yoy และคาดปี 2561 กำไรสุทธิที่ 1,271 ล้านบาท เติบโตต่อเนื่องอีก 13% ประเมิน Fair Value ปี 2561 ที่ 9.30 บาท มี upside สูงถึง 21.6% แนะนำ ซื้อลงทุน
วานนี้ DTAC รายงานงบ 3Q60 ตามคาด ลดลง 19.1%qoq และ 8.8%yoy ขณะที่กำไรปกติลดลงถึง 36.3%qoq และ 27.8%qoq เพราะยังคงเสียลูกค้าเติมเงินให้คู่แข่ง (หลังจากฟื้นตัวได้เมื่อไตรมาสที่ผ่านมา) ขณะที่ค่าใช้จ่ายดำเนินงานทรงตัว qoq แม้การเปิดตัว Line Mobile ช่วยลดต้นทุนในไตรมาสนี้ อย่างไรก็ตาม DTAC ยังเป็นรายเดียวที่ต้องลงทุน 4G บนคลื่น 2300 MHz สวนทางกับคู่แข่งที่มีความพร้อม 4G แล้ว ขณะที่ปัจจัยกดดันในเรื่องการลงทุน 4G ที่อยู่บนคลื่น 1800 MHz จะต้องโอนกรรมสิทธิ์โครงข่ายให้ CAT และ จะประมูลคลื่นกลับมาในปีหน้า และกลับไปเช่าใช้โครงข่ายอีกครั้ง โดยรวมจึงส่งผลให้ต้นทุนเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าคู่แข่งในปี 2561 และน่าจะทำให้ผลประกอบการปี 2561 พลิกมาขาดทุน 957 ล้านบาท จากปี 2560 ที่มีกำไร 1.96 พันล้านบาท ก่อนที่ปี 2562 จะกลับมามีกำไรอีกครั้งที่ 4.1 พันล้านบาท หลังหยุดรับรู้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสัมปทาน จึงคงแนะนำ switch ไปยัง ADVANC (FV’61@B 230) ที่มีแนวโน้มผลประกอบการที่เติบโตดีกว่า
THANI (FV’61@B 9.30) วานนี้รายงานงบฯ 3Q60 กำไรสุทธิที่ 302 ล้านบาท เติบโตถึง 38.4%yoy ขึ้นทำ new high รายไตรมาสต่อเนื่อง จากการเติบโตของสินเชื่อตามภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีการฟื้นตัว อีกทั้งเป็นช่วง high season ของทุกปี หนุนความต้องการใช้สินเชื่อ ทั้งสินเชื่อเช่าซื้อรถบรรทุกและสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์เพิ่มมากขึ้น และมีปัจจัยหนุนหลักคือโครงการภาครัฐ การส่งออก และการขนส่งที่ทยอยดีขึ้น และ spread ที่ยังเป็นขาขึ้น จากต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายที่ทยอยลดลง
ฝ่ายวิจัยปรับเพิ่มประมาณการฯ ปี 2560-61 ขึ้นจากเดิม 8.5% และ 9.9% ตามลำดับ โดยปรับสมมติฐานการเติบโตของสินเชื่อปี 2560-61 ขึ้นเป็น 16.3% และ 15.4% จากเดิม 10% และ 9.9% ตามลำดับ และปรับลดสมมติฐานต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายปี 2560-61 เป็น 3% และ 3.1% จาก 3.5% และ 3.6% ตามลำดับ ส่งผลให้คาดการณ์กำไรสุทธิปี 2560 อยู่ที่ 1,127 ล้านบาท เติบโตถึง 28%yoy และคาดปี 2561 กำไรสุทธิที่ 1,271 ล้านบาท เติบโตต่อเนื่องอีก 13% ประเมิน Fair Value ปี 2561 ที่ 9.30 บาท มี upside สูงถึง 21.6% แนะนำ ซื้อลงทุน
Fund Flow ไหลเข้าภูมิภาค แต่ชะลอในกลุ่ม TIP
วานนี้ต่างชาติยังคงซื้อสุทธิหุ้นในภูมิภาคติดต่อกันเป็นวันที่ 7 ด้วยมูลค่าราว 32 ล้านเหรียญ โดยแรงซื้อหลักๆ อยู่ในตลาดหุ้นแถบเอเชียตะวันออก คือ เกาหลีใต้ 31 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) ตามมาด้วยไต้หวัน 150 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 8) ส่วนตลาดหุ้นในกลุ่ม TIP ต่างชาติสลับมาขายสุทธิทั้ง 3 แห่งนำโดย อินโดนิเซีย 86 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 4) ตามด้วยฟิลิปปินส์ 13 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว) สำหรับตลาดหุ้นไทยนักลงทุนต่างชาติและสถาบันภายในประเทศขายสุทธิ 1.67 พันล้านบาท และ 3.02 พันล้านบาท ตามลำดับ
ส่วนตลาดตราสารหนี้ไทยสถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 1.04 หมื่นล้านบาท เช่นเดียวกับต่างชาติที่ซื้อสุทธิ 2.43 พันล้านบาท (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน)
ราคาน้ำมันฟื้นตัวต่อเนื่อง ขณะที่ราคาหุ้น PTT, PTTEP ย่อตัว จึงเป็นโอกาสสะสม
ราคาน้ำมันดิบโลกยังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยวานนี้สัญญาฟิวเจอร์น้ำมันดิบ WTI ปรับเพิ่มขึ้นอีก 0.31% มาอยู่ที่ 52.04 เหรียญฯต่อบาร์เรล (เพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นวันที่ 4) โดยมีหลากหลายปัจจัยหนุนดังนี้
วานนี้ทางสำนักงานสารสนเทศด้านพลังงานสหรัฐฯ (EIA) รายงานสต็อกน้ำมันดิบสหรัฐฯปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 4 อีกกว่า 5.73 ล้านบาร์เรล และลดลงมากกว่าที่ตลาดฯคาดไว้ที่ 4.24 ล้านบาร์เรล
ผลกระทบจาก พายุเฮอริเคน “เนท” ที่พัดถล่มสหรัฐฯในช่วงที่ผ่านมา ทำให้บริษัทผลิตและขุดเจาะน้ำมันต้องปิดและหยุดปฏิบัติการในสัดส่วนกำลังการผลิตที่มากกว่า เมื่อเทียบกับผลกระทบจากพายุเฮริเคน “ฮาร์วี่” เมื่อปลายเดือน ส.ค. และต้นเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา สะท้อนได้จากตัวเลขกำลังการผลิตน้ำมันดิบสหรัฐสัปดาห์ล่าสุด ปรับตัวลดลงอย่างรุนแรงกว่า 1.07 ล้านบาร์เรลต่อวัน มาอยู่ที่ 8.41 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็นระดับที่ต่ำสุดในรอบ 3 ปี 3 เดือนที่ผ่านมา
สถานการณ์ตึงเครียดในเมืองเคอร์คุกของอิรัก ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการลำเลียงน้ำมันดิบของอิรัก และสร้างความกังวลต่ออุปทานและการส่งออกที่อาจไม่ต่อเนื่อง รวมทั้งตลาดยังคงมีความกังวลในการคว่ำบาตรของสหรัฐฯต่อประเทศอิหร่าน หลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ปฏิเสธที่จะลงนามรับรองว่ารัฐบาลอิหร่านปฏิบัติตามข้อตกลงนิวเคลียร์
นอกจากนี้ในระยะยาว คาดว่าความต้องการใช้น้ำมันน่าจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะทางฝั่ง สหรัฐ ยุโรป และประเทศกำลังพัฒนาในฝั่งเอเชีย อย่างจีน หลังจากธนาคารกลางจีนคาดการณ์เศรษฐกิจในจีนมีโอกาสเติบโตขึ้นถึง 7% ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2560
หลากหลายปัจจัยหนุนราคาน้ำมันฟื้นตัว ดังนั้นจึงเป็นโอกาสในการสะสมหุ้นน้ำมัน อย่าง PTT (FV@B460) และ PTTEP (FV@B116) ที่วานนี้ราคาหุ้นย่อตัวลงมา 1.86% และ 1.61% ตามลำดับ โดยในช่วงที่ผ่านมา ราคาหุ้นทั้ง 2 บริษัท ยังปรับตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่าราคาน้ำมันดิบโลกอยู่มาก
วานนี้ต่างชาติยังคงซื้อสุทธิหุ้นในภูมิภาคติดต่อกันเป็นวันที่ 7 ด้วยมูลค่าราว 32 ล้านเหรียญ โดยแรงซื้อหลักๆ อยู่ในตลาดหุ้นแถบเอเชียตะวันออก คือ เกาหลีใต้ 31 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 2) ตามมาด้วยไต้หวัน 150 ล้านเหรียญ (ซื้อสุทธิเป็นวันที่ 8) ส่วนตลาดหุ้นในกลุ่ม TIP ต่างชาติสลับมาขายสุทธิทั้ง 3 แห่งนำโดย อินโดนิเซีย 86 ล้านเหรียญ (ขายสุทธิเป็นวันที่ 4) ตามด้วยฟิลิปปินส์ 13 ล้านเหรียญ (หลังจากซื้อสุทธิเพียงวันเดียว) สำหรับตลาดหุ้นไทยนักลงทุนต่างชาติและสถาบันภายในประเทศขายสุทธิ 1.67 พันล้านบาท และ 3.02 พันล้านบาท ตามลำดับ
ส่วนตลาดตราสารหนี้ไทยสถาบันในประเทศซื้อสุทธิ 1.04 หมื่นล้านบาท เช่นเดียวกับต่างชาติที่ซื้อสุทธิ 2.43 พันล้านบาท (หลังจากขายสุทธิ 2 วัน)
ราคาน้ำมันฟื้นตัวต่อเนื่อง ขณะที่ราคาหุ้น PTT, PTTEP ย่อตัว จึงเป็นโอกาสสะสม
ราคาน้ำมันดิบโลกยังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยวานนี้สัญญาฟิวเจอร์น้ำมันดิบ WTI ปรับเพิ่มขึ้นอีก 0.31% มาอยู่ที่ 52.04 เหรียญฯต่อบาร์เรล (เพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นวันที่ 4) โดยมีหลากหลายปัจจัยหนุนดังนี้
วานนี้ทางสำนักงานสารสนเทศด้านพลังงานสหรัฐฯ (EIA) รายงานสต็อกน้ำมันดิบสหรัฐฯปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 4 อีกกว่า 5.73 ล้านบาร์เรล และลดลงมากกว่าที่ตลาดฯคาดไว้ที่ 4.24 ล้านบาร์เรล
ผลกระทบจาก พายุเฮอริเคน “เนท” ที่พัดถล่มสหรัฐฯในช่วงที่ผ่านมา ทำให้บริษัทผลิตและขุดเจาะน้ำมันต้องปิดและหยุดปฏิบัติการในสัดส่วนกำลังการผลิตที่มากกว่า เมื่อเทียบกับผลกระทบจากพายุเฮริเคน “ฮาร์วี่” เมื่อปลายเดือน ส.ค. และต้นเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา สะท้อนได้จากตัวเลขกำลังการผลิตน้ำมันดิบสหรัฐสัปดาห์ล่าสุด ปรับตัวลดลงอย่างรุนแรงกว่า 1.07 ล้านบาร์เรลต่อวัน มาอยู่ที่ 8.41 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็นระดับที่ต่ำสุดในรอบ 3 ปี 3 เดือนที่ผ่านมา
สถานการณ์ตึงเครียดในเมืองเคอร์คุกของอิรัก ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการลำเลียงน้ำมันดิบของอิรัก และสร้างความกังวลต่ออุปทานและการส่งออกที่อาจไม่ต่อเนื่อง รวมทั้งตลาดยังคงมีความกังวลในการคว่ำบาตรของสหรัฐฯต่อประเทศอิหร่าน หลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ปฏิเสธที่จะลงนามรับรองว่ารัฐบาลอิหร่านปฏิบัติตามข้อตกลงนิวเคลียร์
นอกจากนี้ในระยะยาว คาดว่าความต้องการใช้น้ำมันน่าจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะทางฝั่ง สหรัฐ ยุโรป และประเทศกำลังพัฒนาในฝั่งเอเชีย อย่างจีน หลังจากธนาคารกลางจีนคาดการณ์เศรษฐกิจในจีนมีโอกาสเติบโตขึ้นถึง 7% ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2560
หลากหลายปัจจัยหนุนราคาน้ำมันฟื้นตัว ดังนั้นจึงเป็นโอกาสในการสะสมหุ้นน้ำมัน อย่าง PTT (FV@B460) และ PTTEP (FV@B116) ที่วานนี้ราคาหุ้นย่อตัวลงมา 1.86% และ 1.61% ตามลำดับ โดยในช่วงที่ผ่านมา ราคาหุ้นทั้ง 2 บริษัท ยังปรับตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่าราคาน้ำมันดิบโลกอยู่มาก
ภรณี ทองเย็น เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004146
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 004132
พบชัย ภัทราวิชญ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 052647
ภราดร เตียรณปราโมทย์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 075365
ฐกฤต ชาติเชิดศักดิ์ เลขทะเบียนนักวิเคราะห์: 087636
1445