- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Thursday, 11 May 2017 18:24
- Hits: 8634
บล.ยูโอบีเคย์เฮียน : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
คาดบรรยากาศดีขึ้น จากประมาณการกำไร SET Index ปรับขึ้น และ Risk on หลังเลือกตั้งยุโรป หุ้นไทยมีแรงทำกำไรปรับลดลงแรงเมื่อวันอังคาร หลังมีข่าวการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้อย่างไรก็
ตามเรายังคงกลยุทธ์เลือกลงทุนรายตัว และมองบรรยากาศโดยรวมมีโอกาสทยอยปรับบวกขึ้นจาก 1) การรายงานผลประกอบการที่ดี โดยเฉพาะในกลุ่มที่ได้ประโยชน์จากอุปสงค์ภายนอก โดยเฉพาะ ปิโตรเคมี และหุ้นขนาดใหญ่ ส่งผลให้ประมาณการกำไร SET Index ปรับข้ นึ เป็น 103 บำท/ห้นุ (จาก 101 บาท/ห้นุ ) 2) แรงกดดันจากราคาน้ำมันเริ่มจำ กัดและมีโอกาสฟื้นตัวก่อนถึงกำรประชุมโอเปค 25 พ.ค.นี้ มีโอกำสส่งผลบวกต่อราคาหุ้นพลังงานต้นน้ำ (ซึ่งเรามองการปรับขึ้นเป็นโอกาสลดน้ำหนักกลุ่ม ENERGY) และ 3) ภาวะอยากเสี่ยงเพิ่มขึ้นหลังการเลือกตั้งฝรั่งเศสออกมาตามคาด และ 4) การเคลื่อนไหวที่ Underperform หุ้นภูมิภาคของตลาดหุ้นไทยในช่วงที่ผ่านมาทำให้มีโอกาสเป็น Laggard play
ในเชิงกลยุทธ์กำรลงทุน เรายังคงเลือกหุ้นที่เป็นเป้าหมายของการเพิ่มน้ำหนักของนักลงทุนสถำบัน เน้นกลุ่มปิโตรเคมี อาหาร และท่องเที่ยว ลดน้ำหนักโรงกลั่นและสื่อสารรวมทั้งระวังแรงขายทำกำไรในห้นุ กลาง-เล็ก ที่อยู่ในระดับที่แพง อาจเกิด De-Rating // หุ้นแนะนำ MINT, IRPC, KBANK /เก็งกำไร TTA*
ราคาน้ำมัน – ราคาน้ำมันดิบ WTI ปรับขึ้น 1.45 เหรียญสหรัฐฯ หรือ 3% เนื่องจำกสต็อคน้ำมันดิบสหรัฐฯลดลง 5.2 ล้ำนบำร์เรล (มากกว่าตลาดคาดที่ 1.8 ล้านบาร์เรล) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบในเชิงฤดูกาลกับค่าเฉลี่ยปีถือว่าลดลงเร็วกว่าปกติ อีกทั้งมีรายงานโอเปคอาจขยายเวลาลดกำลังการผลิตอีก 9 เดือนระมัดระวัง De-rating ในหุ้นแพง – ตั้งแต่ต้นก.พ.เราเริ่มเตือนให้นักลงทุนระมัดระวังหุ้น PER สูง เสี่ยงต่อการเกิด De-rating หรือการที่หุ้นอาจซื้อขายด้วย PER ลดลงอันเนื่องมาจากหุ้นหลายตัวมีราคาแพงเกินกว่าการเติบโต ซึ่งอาจทำให้หุ้นปรับลดลงแรง หากไม่สามารถรายงานกำไรเติบโตได้ตำมตลาดคาด
สำหรับปัจจัยติดตามที่สำคัญ: 11 พ.ค. – ประชุมธนาคารอังกฤษ (BOE meeting) / 15 พ.ค. – MSCI Review / 25 พ.ค. – โอเปคประชุมเรื่องปรับลดกำลังการผลิต / 14 มิ.ย. – ประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯ (FOMC meeting)
คำแนะนำทางกลยุทธ์: หุ้นไทย (SET Index) เคลื่อนไหวในกรอบ 1555-1570 ซึ่งการทะลุด้ำนใดด้านหนึ่งจะทำให้เกิดโมเมนตัมไปในทิศทางดังกล่าวอีก 25-30 จุด ซึ่งการปรับลดลงมายังกรอบล่าง ในขณะที่การความกังวลการเลือกตั้งฝรั่งเศสคลี่คลายและน้ำมันน่าจะมีการเก็งกำไรก่อนโอเปคประชุม น่าจะทำ ให้เกิดภาวะอยากเสี่ยง (Risk on) ในช่วง 2 สัปดาห์นี้ ยังคงกลยุทธ์เลือกตัวซื้อ (Selective buy) เน้นกลุ่มปิ โตรเคมี อาหารและท่องเที่ยว และเลี่ยง/ลดน้ำหนักกลุ่มที่มีความเสี่ยงถูกลดน้ำหนักหรือคำ แนะนำการลงทุนลง ได้แก่ สื่อสารการแพทย์ และโรงกลั่น
แนวรับ 1555/แนวต้าน : 1570-1575 จุด สัดส่วนการลงทุน : เงินสด 30% : พอร์ตห้นุ 70%
ประเด็นเก็งกำไรเชิงกลยุทธ์
ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ดี: BDMS, SGP*, AOT, MINT, ERW, TASCO, PTTGC
หุ้น ที่มีการเติบโตปี 2560 เด่น: TU, MAJOR, SQ, BANPU
หุ้น ที่ผลงานผ่านจุดแย่สุด: MAJOR, SGP*, SIMAT, JWD*, TSR, TU
หุ้น เด่นปี 2560: BANPU, PTTEP, SCB, TU, STEC, DTAC*, PSTC*, KSL*, BA*
(* หุ้นที่ไม่อยู่ในการวิเคราะห์ของ UOBKH หรือหุ้นแนะนำเชิงกลยุทธ์ ผู้ลงทุนควรพิจารณาจุดตัดขาดทุน ราว 3-5%)
หุ้นแนะนำ
MINT (40) : จำนวนนักท่องเที่ยงต่างชาติฟื้นตัว ขณะที่คาดผลประกอบการไตรมาส 1/60 แข็งแกร่ง ราคาหุ้นกลุ่มท่องเที่ยวที่ Underperform ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาทำให้หุ้นอยู่ในภำวะ Underowned
IRPC (6.7) : ผลกำรดำเนินงานไตรมาส 1/60 คาดแย่สุดจากการปิดซ่อม CDU เป็นเวลา 30 วัน และ UHV เป็นเวลา 2 เดือน อย่างไรก็ตามแนวโน้มกำไรอาจไม่ได้แย่อย่างที่เราเคยกังวลจำกค่าการกลั่นรวม (GIM) ที่สูงถึง 13-14 เหรียญ/บาร์เรล และคาดกำไรฟื้นตัวโดดเด่นตั้งแต่ 2Q60 เป็นต้นไป
KBANK (217) : พอร์ตสินเชื่อมีแนวโน้มกำรเติบโตที่โดดเด่นในช่วงครึ่งปีหลัง (2H60) ตำมภำวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว ประกอบกับควำมสำมำรถในการบริหารพอร์ตเงินฝำกที่มีประสิทธิภาพทำให้มีต้นทุนในการบริหารจัดการที่ต่ำ ส่งผลบวกต่อทิศทางการเติบโตของ NIM
TTA* (12) : ค่ำระว่างเรือใกล้เข้ำสู่ขาขึ้นรอบใหม่ (พ.ค.-ส.ค.) ผลการดำเนินงานไตรมาส 1/60 น่าจะขาดทุนแต่มองเป็นโอกำสซื้อ จากผลกำรดำเนินงานไตรมาส 2-3 ที่คาดจะปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง
ปัจจัยที่ต้องติดตาม
11 พ.ค.: UK – ประชุมธนาคารกลางอังกฤษ (BOE meeting),
ดัชนีผลผลิตอุจสาหกรรม (Manufacturing Production) เดือน มี.ค.,
ดุลการค้า (Balance Trade) เดือน มี.ค
US – ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือน เม.ย.
12 พ.ค.: US – ดัชนีค้าปลีก (Retail Sales) เดือน เม.ย.,
ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) เดือน เม.ย.
EU – ดัชนีภาคการผลิตอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน มี.ค
13 พ.ค.: US – จำนวนแท่นขุดเจาะน้ำมัน (Oil Rig Count)
25 พ.ค.: OIL – การประชุม OPEC ประเด็นการต่ออายุข้อตกลงปรับลดกา ลังการผลิตน้ำมันดิบ
22 ต.ค.: EU – การเลือกตั้งประเทศเยอรมนี
นักกลยุทธ์: กิจพล ไพรไพศาลกิจ Email: [email protected]