- Details
- Category: บทวิเคราะห์
- Published: Wednesday, 22 June 2016 17:22
- Hits: 4309
บล.โนมูระ พัฒนสิน : รายงานภาวะตลาดหุ้นรายวัน
ขึ้นจำกัด : เน้นสะสมหุ้นแนวโน้มกำไรเด่น ต้านทานตลาดผันผวน(CPF, KKP) และหุ้นรับอานิสงค์งานภาครัฐหนุน Upgrade (ILINK)
Nomura : Key Factors
(+) Ex Factor: Brexit Polls : คาด UK ออก 44%, อยู่ต่อ 45%, ยังไม่ตัดสินใจ 11%
(+) OIL: ราคาน้ำมันดิบเช้านี้ WTI แกว่งขึ้นสู่ $50.24/bbl ยังถือเป็นปัจจัยบวกต่อ ENERG
(+) Int Factor: ครม. อนุมัติมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร วงเงินรวม 4.3 หมื่นล้านบาท
(+) Int Factor: ยื่นประมูลชีวมวล36MW ภาคใต้ 15-30 มิ.ย.นี้ บวกต่อกลุ่มพลังงานทดแทน
(+) Int Factor: ยอดสะสมต่างชาติใน TFEX ตั้งแต่ต้น เม.ย-ปัจจุบัน: Long 14,330 สัญญา
(*) Int Factor: วันนี้ติดตามการประชุม กนง. คาดคงอัตราดอกเบี้ยที่ระดับเดิมต่อไป
(*) Ex Factor: Yellen มองเศรษฐกิจ US ฟื้นแบบค่อยเป็นค่อยไป/ ระมัดระวังขึ้นดอกเบี้ย
(-) Fund Flow: ต่างชาติขาย 144 ลบ., Short Future 1434, ซื้อ Bond 1600 ลบ.
(-) Ex Factor: ตลาดค่อนข้างมีความกังวลต่อการทำประชามติ Brexit 23 มิ.ย.นี้
(-) Valuation: SET ปัจจุบันเทรด PER16F ที่ 15.39 เท่า สูงกว่า LT Avg PER 14.7 เท่า
SET PER 16F: CNS 15.33x (EPS 93.25) vs Cons.15.39x (LT-Avg 14.7x)
2016 SET Target: CNS Base 1515 pts (EPS 93.25, PER16.25x)
Nomura Daily Top Picks: CPF, ILINK, KKP
Daily Outlook : คาดดัชนีวันนี้ แกว่งขึ้นจำกัด ในกรอบแนวต้าน 1436/1442จุด และแนวรับ 1423/1419จุด นับถอยหลังการทำประชามติประเด็นอังกฤษจะอยู่ต่อในสหภาพยุโรป (EU) หรือไม่ ซึ่งเหลืออีกเพียง 1 วันเท่านั้น แต่ภาพรวมของผลการสำรวจจาก Polls ต่างๆ พบว่ายังคงค่อนข้างสูสีกันมาก ผลสำรวจจาก Bloomberg Consensus วันนี้ พลิกกลับมา ให้โอกาสอังกฤษอยู่ต่อ 45%(จากวันก่อน 42%), ให้โอกาสเลือกออกจาก EU 44%(คงที่ 44%) ขณะที่กลุ่มที่ยังไม่ตัดสินใจเหลืออีก 11% ซึ่งก็สอดคล้องกับ ข้อมูลจากบริษัทรับพนันถูกกฎหมายในอังกฤษ เช่น Ladbrokes ที่คนส่วนใหญ่ให้น้ำหนักอยู่ต่อ 76% แต่อย่างไรก็ตามบางผลสำรวจกลับมีผลที่แตกต่างกันเล็กน้อย เช่น Financial Times น้ำหนักของการอยู่ใน EU ต่อกับออกจาก EU ที่ 44 : 45 โดยสรุปเสียงส่วนใหญ่ยังค่อนข้างสอดคล้องกับมุมมองของ Nomura ที่คาดอังกฤษจะยังคงอยู่ต่อใน EU แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มที่ยังคงไม่ตัดสินใจราว 10% อาจจะเป็นตัวแปรสำคัญต่อการโหวตครั้งนี้ได้
ส่วนการแถลงของผู้กำหนดนโยบายการเงินโลกวานนี้ นางเจนเนต เยนเลน ประธาน FED ที่ยังคงมุมมองเศรษฐกิจสหรัฐฯฟื้นตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป แม้ว่าระยะสั้นอาจจะมีความเสี่ยงจากภาคแรงงานที่ชะลอลง รวมถึงความเสี่ยง BREXIT ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ยสหรัฐฯยังเป็นไปอย่างระมัดระวัง เช่นเดียวกับ Mario Draghi ประธาน ECB ที่ส่งสัญญาณวานนี้ ว่ามีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมเตรียมที่จะใช้ในช่วงถัดไปเพื่อหนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ จากประเด็นดังกล่าวจะเห็นสัญญาณของความพยายามฟื้นความเชื่อมั่นของผู้นำเศรษฐกิจ เราประเมินว่าด้วยความเสี่ยงของ US และ Euro Zone ที่มีอยู่ น่าจะทำให้กระแส Fund Flow ยังคงไหลกลับเข้าสู่ตลาดสินทรัพย์เสี่ยงเอเชียอย่างต่อเนื่อง ส่วนปัจจัยในประเทศวันนี้ ติดตามการประชุม กนง. ซึ่งรอบนี้ Nomura และ Consensus เห็นพ้องว่า กนง. จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ1.5%ต่อไป หลังเศรษฐกิจไทยเริ่มมีพัฒนาเชิงบวก ตอบรับแรงขับเคลื่อนของนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐฯ
Asset allocation : หุ้น 70% ทองคำ 12.5% ตลาดบอนด์ 5% และเงินสด 12.5%
Short-Term Strategy : ตลาดยังคงจับตาประเด็น BREXIT 23 มิ.ย. นี้ กลยุทธ์จึงเน้นสะสมหุ้นที่น่าจะต้านทานความผันผวนได้ จากประเด็นบวกภายใน เช่น 1) กลุ่มที่คาดกำไร 2016 ฟื้นตัวขึ้นเด่น (CPF, BWG, PSTC, KAMART, MONO, CI) 2) กลุ่มโรงพยาบาล เก็งประกันสังคมอาจปรับขึ้น DRG มากกว่า 2RW (IPD) เดิม 10,000 บาท จะหนุนกำไรของกลุ่มที่มีรายได้จากประกันสังคม (BCH, CHG, VIBHA) 3) กลุ่มค้าปลีกที่กำไรโตต่อเนื่อง (GLOBAL, ROBINS, HMPRO, CPALL) ส่วนหุ้นกลุ่ม Commodity Play อาจผันผวนต่อความเสี่ยง BREXIT แต่เราคาดว่าโอกาสเกิดน้อยจึงแนะนำย่อสะสม (PTTEP, PTT, IVL, BANPU) เช่นเดียวกับ BANK Laggard & Deep Valuation แต่ภาพ Loan Growth เริ่มฟื้นตัวในเดือน พค 2016(KKP, SCB, BBL) ผสาน หุ้นเข้าSET50/100 ที่ surprise ตลาด (MTLS, BCH, ERW, GLOBAL & COM7) ส่วน ILINK เด่น หลังได้ร่วมงานก่อสร้างสุวรรณภูมิเฟส 2 เป็น Upside Risk ของประมาณการณ์ สำหรับวันนี้แนะนำ*Daily Top Picks: CPF, ILINK, KKP*
Mid-Long Term Strategy : แนวโน้มตลาดเดือน มิ.ย. 2016 แกว่งขึ้น 1453/1477จุด จากทิศทาง Fund Flow ที่ยังคงไหลเข้าEM-Asia ต่อเนื่อง จากแนวโน้ม FED น่าจะชะลอการขึ้นอัตราดอกเบี้ยกลังการการประชุมเดือนมิย.นี้ คาดกลุ่มที่จะ Outperform ในเดือนนี้ ได้แก่ 1) BANK Laggard & 2H16 Earning Recovery (BBL, SCB, KBANK, BAY) 2) Commodities (PTTEP, PTT, PTTGC) และ Soft Commodities (CPF, STA, KSL, BRR) เป็นตัวหนุนตลาดขึ้น 3) กลุ่มพลังงานทางเลือก ที่มีการกำหนดยื่นซองประมูล Biomass 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ 36mw ในวันที่ 15-30 มิ.ย. แนะนำ TPCH, PSTC เด่น และ ความคืบหน้าโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรม 50MW (BWG) 4)หุ้นที่มี Earning Momentum เด่น (CPF, PSTC, STA, KAMART, XO, MONO, CI) 5) กลุ่มอาหารและค้าปลีกเด่นรับยูโร 2016(MINT, ROBINS, HMPRO และ 5)รับเหมา(CK, ITD, PYLON)สำหรับ Portfolio Top picks JUNE 2016 CPF, STA, CK, KAMART, BWG, PSTC และ DARK Horse BAY,MONO,IVL, TVT, SGP
Investment Theme:
· 2016 AEC Connectivity : WISE
Wellness & discover Thainess: ERW, KAMART, BCH, BDMS
Infrastructure: BBL, CK, AMATA. DCC
Spending Recovery: ROBINS, CI, LH, TCAP
Eco Friendly: SCC, KSL, BRR, NYT
. 2Q16 Top Picks : PTTEP, SCC, SCB, BDMS, CK, PTT, IVL, VIBHA
Fundamental & Tactical Daily Top Picks :
CPF (TP35*): Support 28/27 Resistance 30/32
Theme: Consumer Spending Recovery
Earning Outlook : คาดผลประกอบการ 2Q16F-3Q16F มีโอกาสฟื้นตัวต่อเนื่อง จากคาดกำไรสุทธิปี 16F จะขยายตัว 43% y-y
Valuation : ราคาเป้าหมายที่ 35 บาท อิง PER16F 16.2x ต่ำกว่ากลุ่มฯที่ 18.6x มี Upside 21.7%
Catalyst : ธุรกิจกุ้งฟื้นตัว และแนวโน้มราคาสุกรในประเทศปรับตัวขึ้น หนุนผลประกอบการ 2Q16F มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง
ILINK (TP21.9*): Support 14.5/14.0 Resistance 15.5/16.2
Theme: Infrastructure Spending
Earning Outlook : คาดกำไร 2016F ที่ 352 ล้านบาท (+32%y-y) และยังคาดจะฟื้นตัวต่อเนื่องในปี 2017F สู่ระดับ 487 ล้านบาท
Valuation : ปัจจุบันเทรดที่ PER16F ที่ 14.9 เท่า และคาด PER จะลดลงสู่ระดับ 12.12 เท่าในปี 2017
Catalyst : ชนะประมูลงานรับจ้างก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคของ บมจ.ท่าอากาศยานไทย (AOT) มูลค่า 1,983 ล้านบาท คาดหนุนราคาเป้าหมายเพิ่มขึ้นอีกราว 2 บาทต่อหุ้น
KKP (TP49**): Support 40/39 Resistance 42/43
Theme: Earning Play
Earning Outlook : คาดแนวโน้มกำไร 2Q16F ฟื้นตัว y-y จากค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยที่ลดลง แต่ลดลง q-q จากไม่มีโอนกลับรายการพิเศษเหมือน 1Q16 ภาพรวมกำไรสุทธิปี 2016F +12.5%y-y ที่ระดับ 3.7 พันลบ.
Valuation : เทรดที่ระดับ P/BV 0.87x ใกล้เคียงกลุ่มที่ 0.9x ขณะที่ ปันผลสูง 5.4% Upside 20%
Catalyst : ตัวเลข Loan Growth เดือน พ.ค. เซอร์ไพรส์กลุ่มสินเชื่อขนาดเล็ก +2.4%m-m จากกลุ่ม SME และมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องในเดือน มิ.ย. หนุนสินเชื่อรวมทั้งปีกลับมาทรงตัว y-y
Note: TP (Bloomberg Consensus) , *TP(CNS), **TP(Nomura)
Strategist Team
Koraphat Vorachet : Analyst Registration No. 043100
[email protected] : 0-2287-6771, 0-2638-5771
Wijit Arayapisit : Analyst Registration No. 044799
[email protected] : 0-2287-6871, 0-2638-5871
Chavaratt Changpakorn : Assistant Strategist
Note: TP (Bloomberg Consensus) , *TP(CNS,Nomura)